สวิตซ์แบบ solid-state แตกต่างกับ สวิตซ์แบบ mechanic อย่างไร

บทความนี้จะกล่าวถึงความสำคัญของสวิตช์โซลิดสเตตและสวิตช์เชิงกล ซึ่งเป็นส่วนประกอบสำคัญในวงจรความถี่วิทยุ

สวิตซ์แบบ solid-state แตกต่างกับ สวิตซ์แบบ mechanic อย่างไร

ในระบบต่างๆ ที่ทันสมัย อุปกรณ์และชุดประกอบอิเล็กทรอนิกส์ได้มีการพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว ทั้งในด้านรูปร่าง ขนาด และค่าพารามิเตอร์ต่างๆ ที่สำคัญ โดยมุ่งเน้นที่ความเร็ว ความคงทน และความสามารถในการทำงานร่วมกับระบบอื่นๆ อย่างสมบูรณ์ อุปกรณ์หนึ่งที่มีความสำคัญมากต่อระบบ นั่นก็คือ สวิตช์แบบโซลิดสเตต (Solid-state Switch) และ สวิตช์แบบเครื่องกล (Mechanical Switch) ซึ่งเป็นส่วนประกอบที่จำเป็นต่อวงจรคลื่นความถี่วิทยุ (RF) ใช้ในการสวิตช์และควบคุมการไหลของสัญญาณ

ด้วยคุณลักษณะเฉพาะของแต่ละประเภทสวิตช์ ซึ่งมีทั้งข้อดีและข้อเสียที่แตกต่างกัน การใช้งานจึงต้องเลือกใช้ข้อดีของแต่ละประเภทให้เหมาะสมกับระบบและวัตถุประสงค์ของการใช้งาน เพื่อให้สามารถตอบสนองต่อความต้องการของผู้ใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

เหตุผลที่ต้องใช้สวิตช์แบบโซลิดสเตต

สวิตช์แบบโซลิดสเตต (Solid-state Switch) หรือที่เรียกอีกชื่อว่า     โซลิดสเตตรีเลย์ (SSR: Solid-state Relay) เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ทำหน้าที่เป็นสวิตช์ในการเปิดหรือปิดการทำงาน เมื่อได้รับแรงดันจากภายนอกเข้าสู่ระบบ โซลิดสเตตรีเลย์ (SSR) มีความแตกต่างจากสวิตช์ทั่วไป คือ ไม่มีส่วนที่เคลื่อนไหว โดยทั่วไป SSR มีใช้งาน 2 แบบ  คือ รีเลย์แบบออปติคัล (Optical Relays) และ อุปกรณ์ที่ช่วยแยกหรือการตัดการเชื่อมต่ออุปกรณ์ไฟฟ้า (Isolator Switch) เหตุผลและเงื่อนไขต่างๆในการใช้งาน โซลิด สเตรท รีเลย์ (SSR) มีดังต่อไปนี้

1. อายุการใช้งานยาวนาน

โซลิดสเตตรีเลย์ (SSR) ไม่มีส่วนประกอบที่ต้องสัมผัสหรือเคลื่อนไหวทางกล จึงไม่มีการสึกหรอ ทำให้มีอายุการใช้งานที่ยาวนานกว่าสวิตช์แบบทางกลทั่วไป แต่อย่างไรก็ตามยังมีข้อระวัง คือ ค่าความต้านทาน (Resistance) หลงเหลืออยู่ในวงจร ซึ่งจะทำให้เกิดความร้อนต่อระบบมากขึ้น

2. พลังงานน้อย

โซลิดสเตตรีเลย์ (SSR) ใช้พลังงานน้อยในการทำหน้าที่เป็นสวิตช์ โดยทั่วไปการเปิดสถานะการทำงานจะใช้พลังงานเพียงประมาณ 75% เท่านั้น

3. การทำงานเงียบ

โซลิดสเตตรีเลย์ (SSR) ไม่ทำให้เกิดเสียงรบกวน ข้อดีนี้ทำให้เหมาะสมกับการใช้งานในอุปกรณ์ที่ต้องการความเงียบ เช่น อุปกรณ์ทางการแพทย์

4. ทนทานต่อความสั่นสะเทือนและแรงกระแทก

เนื่องจากไม่มีส่วนประกอบที่เคลื่อนไหวในวงจร โซลิดสเตตรีเลย์ (SSR) จึงทนทานต่อแรงกระแทกและความสั่นสะเทือน

5. การทำงานที่รวดเร็ว

โซลิดสเตตรีเลย์  (SSR) สามารถเปิดและปิดได้อย่างรวดเร็ว เพราะไม่มีส่วนที่ต้องเคลื่อนไหว

6. ติดตั้งง่ายในหลากหลายระบบ

โซลิดสเตตรีเลย์  (SSR) สามารถติดตั้งในระบบที่มีขนาดพื้นที่ทั้งเล็กและใหญ่ได้ตามการออกแบบของระบบใช้งาน นอกจากนี้ยังมีหลายชนิดที่สามารถใช้ควบคุมสัญญาณต่างๆ ได้

สวิตซ์แบบทางกล (Mechanical Switch)

สวิตซ์แบบทางกล (Mechanical Switch) หรือที่รู้จักกันในชื่อ Electromechanical Switch เป็นสวิตซ์ที่ใช้ในการควบคุมการเปิดและปิดสัญญาณไฟฟ้าในระบบ RF และอุปกรณ์ต่างๆ ซึ่งต้องการการแปลงสถานะของสัญญาณไฟฟ้าผ่านทางกายภาพหรือทางกล โดยการเปิด-ปิดจะเกิดขึ้นผ่านการเคลื่อนที่ของชิ้นส่วนในสวิตซ์

ลักษณะของสวิตซ์แบบทางกล

- จำนวนช่องสัญญาณ แรงดันที่ใช้ เช่น 12 V 24 V และ 28V

- โหมดในการขับเคลื่อนสัญญาณ เช่น TTL (Transistor-Transistor Logic) เป็นต้น

- ชนิดของการอินเตอร์เฟซ  เช่น N Female SMA หรือ 2.92mm เป็นต้น

- ชนิดหัวต่อคอนเนคเตอร์ ทั้ง JTAG และ D-Sub เป็นต้น

- ความถี่ที่ใช้งาน เช่น  DC 3 - 50 GHz

โหมดในการทำงานของสวิตซ์แบบทางกล

โดยทั่วไปสวิตซ์แบบทางกลจะมี 3 โหมดหลักในการทำงาน ได้แก่:

- ปกติเปิด (Normally Open):เมื่อมีสัญญาณเข้ามาและเข้าเงื่อนไขจะอยู่ในสถานะปิด

- แลตช์ (Latch): เมื่อมีสัญญาณเข้ามาจะใช้สนามแม่เหล็กหรือการล็อกทางกลในการเปลี่ยนสถานะของสวิตซ์ เปิดหรือปิด ด้วยสถานะหน้าสัมผัสที่เชื่อมต่อกัน

- Fail-safe: ใช้หน้าสัมผัสเพื่อบ่งชี้สถานะของอุปกรณ์ที่ไม่สามารถทำงานได้หรือล้มเหลว

ข้อดีของสวิตช์แบบโซลิดสเตตเมื่อเทียบกับสวิตซ์แบบทางกล

1. เกิดการสึกหรอน้อยมากจากการทำงานและไม่มีชิ้นส่วนที่เคลื่อนไหว  ดังนั้นจึงมีอายุการใช้งานที่คงทนยาวนานกว่า

2. เสียงจากการทำงานที่เงียบ จึงเหมาะสำหรับการใช้งานหลากหลายมากขึ้น

3. ทำหน้าที่เป็นสวิตซ์การเปิด ปิดสัญญาณได้อย่างรวดเร็วและความถี่ที่สูง

4. ใช้พลังงานในการเปิดทำงานที่น้อย (Low Consumption)

5. ไม่เกิดประกายไฟ ถ้าจำเป็นต้องใช้ในอุตสาหกรรมเฉพาะทางอย่าง อุตสาหกรรมทางเคมี

6. ลดความเสี่ยงจากการล้มเหลวของระบบและการทำงานอย่างต่อเนื่อง ที่มีสาเหตุมาจากหน้าสัมผัสชำรุด

7. สวิตช์แบบโซลิดสเตตสามารถผลิตให้มีขนาดเล็กลงและกะทัดรัดกว่าสวิตซ์แบบทางกลได้

สวิตซ์แบบ solid-state แตกต่างกับ สวิตซ์แบบ mechanic อย่างไร

บทความนี้จะกล่าวถึงความสำคัญของสวิตช์โซลิดสเตตและสวิตช์เชิงกล ซึ่งเป็นส่วนประกอบสำคัญในวงจรความถี่วิทยุ

นักเขียนบทความ
by 
นักเขียนบทความ
สวิตซ์แบบ solid-state แตกต่างกับ สวิตซ์แบบ mechanic อย่างไร

สวิตซ์แบบ solid-state แตกต่างกับ สวิตซ์แบบ mechanic อย่างไร

บทความนี้จะกล่าวถึงความสำคัญของสวิตช์โซลิดสเตตและสวิตช์เชิงกล ซึ่งเป็นส่วนประกอบสำคัญในวงจรความถี่วิทยุ

ในระบบต่างๆ ที่ทันสมัย อุปกรณ์และชุดประกอบอิเล็กทรอนิกส์ได้มีการพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว ทั้งในด้านรูปร่าง ขนาด และค่าพารามิเตอร์ต่างๆ ที่สำคัญ โดยมุ่งเน้นที่ความเร็ว ความคงทน และความสามารถในการทำงานร่วมกับระบบอื่นๆ อย่างสมบูรณ์ อุปกรณ์หนึ่งที่มีความสำคัญมากต่อระบบ นั่นก็คือ สวิตช์แบบโซลิดสเตต (Solid-state Switch) และ สวิตช์แบบเครื่องกล (Mechanical Switch) ซึ่งเป็นส่วนประกอบที่จำเป็นต่อวงจรคลื่นความถี่วิทยุ (RF) ใช้ในการสวิตช์และควบคุมการไหลของสัญญาณ

ด้วยคุณลักษณะเฉพาะของแต่ละประเภทสวิตช์ ซึ่งมีทั้งข้อดีและข้อเสียที่แตกต่างกัน การใช้งานจึงต้องเลือกใช้ข้อดีของแต่ละประเภทให้เหมาะสมกับระบบและวัตถุประสงค์ของการใช้งาน เพื่อให้สามารถตอบสนองต่อความต้องการของผู้ใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

เหตุผลที่ต้องใช้สวิตช์แบบโซลิดสเตต

สวิตช์แบบโซลิดสเตต (Solid-state Switch) หรือที่เรียกอีกชื่อว่า     โซลิดสเตตรีเลย์ (SSR: Solid-state Relay) เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ทำหน้าที่เป็นสวิตช์ในการเปิดหรือปิดการทำงาน เมื่อได้รับแรงดันจากภายนอกเข้าสู่ระบบ โซลิดสเตตรีเลย์ (SSR) มีความแตกต่างจากสวิตช์ทั่วไป คือ ไม่มีส่วนที่เคลื่อนไหว โดยทั่วไป SSR มีใช้งาน 2 แบบ  คือ รีเลย์แบบออปติคัล (Optical Relays) และ อุปกรณ์ที่ช่วยแยกหรือการตัดการเชื่อมต่ออุปกรณ์ไฟฟ้า (Isolator Switch) เหตุผลและเงื่อนไขต่างๆในการใช้งาน โซลิด สเตรท รีเลย์ (SSR) มีดังต่อไปนี้

1. อายุการใช้งานยาวนาน

โซลิดสเตตรีเลย์ (SSR) ไม่มีส่วนประกอบที่ต้องสัมผัสหรือเคลื่อนไหวทางกล จึงไม่มีการสึกหรอ ทำให้มีอายุการใช้งานที่ยาวนานกว่าสวิตช์แบบทางกลทั่วไป แต่อย่างไรก็ตามยังมีข้อระวัง คือ ค่าความต้านทาน (Resistance) หลงเหลืออยู่ในวงจร ซึ่งจะทำให้เกิดความร้อนต่อระบบมากขึ้น

2. พลังงานน้อย

โซลิดสเตตรีเลย์ (SSR) ใช้พลังงานน้อยในการทำหน้าที่เป็นสวิตช์ โดยทั่วไปการเปิดสถานะการทำงานจะใช้พลังงานเพียงประมาณ 75% เท่านั้น

3. การทำงานเงียบ

โซลิดสเตตรีเลย์ (SSR) ไม่ทำให้เกิดเสียงรบกวน ข้อดีนี้ทำให้เหมาะสมกับการใช้งานในอุปกรณ์ที่ต้องการความเงียบ เช่น อุปกรณ์ทางการแพทย์

4. ทนทานต่อความสั่นสะเทือนและแรงกระแทก

เนื่องจากไม่มีส่วนประกอบที่เคลื่อนไหวในวงจร โซลิดสเตตรีเลย์ (SSR) จึงทนทานต่อแรงกระแทกและความสั่นสะเทือน

5. การทำงานที่รวดเร็ว

โซลิดสเตตรีเลย์  (SSR) สามารถเปิดและปิดได้อย่างรวดเร็ว เพราะไม่มีส่วนที่ต้องเคลื่อนไหว

6. ติดตั้งง่ายในหลากหลายระบบ

โซลิดสเตตรีเลย์  (SSR) สามารถติดตั้งในระบบที่มีขนาดพื้นที่ทั้งเล็กและใหญ่ได้ตามการออกแบบของระบบใช้งาน นอกจากนี้ยังมีหลายชนิดที่สามารถใช้ควบคุมสัญญาณต่างๆ ได้

สวิตซ์แบบทางกล (Mechanical Switch)

สวิตซ์แบบทางกล (Mechanical Switch) หรือที่รู้จักกันในชื่อ Electromechanical Switch เป็นสวิตซ์ที่ใช้ในการควบคุมการเปิดและปิดสัญญาณไฟฟ้าในระบบ RF และอุปกรณ์ต่างๆ ซึ่งต้องการการแปลงสถานะของสัญญาณไฟฟ้าผ่านทางกายภาพหรือทางกล โดยการเปิด-ปิดจะเกิดขึ้นผ่านการเคลื่อนที่ของชิ้นส่วนในสวิตซ์

ลักษณะของสวิตซ์แบบทางกล

- จำนวนช่องสัญญาณ แรงดันที่ใช้ เช่น 12 V 24 V และ 28V

- โหมดในการขับเคลื่อนสัญญาณ เช่น TTL (Transistor-Transistor Logic) เป็นต้น

- ชนิดของการอินเตอร์เฟซ  เช่น N Female SMA หรือ 2.92mm เป็นต้น

- ชนิดหัวต่อคอนเนคเตอร์ ทั้ง JTAG และ D-Sub เป็นต้น

- ความถี่ที่ใช้งาน เช่น  DC 3 - 50 GHz

โหมดในการทำงานของสวิตซ์แบบทางกล

โดยทั่วไปสวิตซ์แบบทางกลจะมี 3 โหมดหลักในการทำงาน ได้แก่:

- ปกติเปิด (Normally Open):เมื่อมีสัญญาณเข้ามาและเข้าเงื่อนไขจะอยู่ในสถานะปิด

- แลตช์ (Latch): เมื่อมีสัญญาณเข้ามาจะใช้สนามแม่เหล็กหรือการล็อกทางกลในการเปลี่ยนสถานะของสวิตซ์ เปิดหรือปิด ด้วยสถานะหน้าสัมผัสที่เชื่อมต่อกัน

- Fail-safe: ใช้หน้าสัมผัสเพื่อบ่งชี้สถานะของอุปกรณ์ที่ไม่สามารถทำงานได้หรือล้มเหลว

ข้อดีของสวิตช์แบบโซลิดสเตตเมื่อเทียบกับสวิตซ์แบบทางกล

1. เกิดการสึกหรอน้อยมากจากการทำงานและไม่มีชิ้นส่วนที่เคลื่อนไหว  ดังนั้นจึงมีอายุการใช้งานที่คงทนยาวนานกว่า

2. เสียงจากการทำงานที่เงียบ จึงเหมาะสำหรับการใช้งานหลากหลายมากขึ้น

3. ทำหน้าที่เป็นสวิตซ์การเปิด ปิดสัญญาณได้อย่างรวดเร็วและความถี่ที่สูง

4. ใช้พลังงานในการเปิดทำงานที่น้อย (Low Consumption)

5. ไม่เกิดประกายไฟ ถ้าจำเป็นต้องใช้ในอุตสาหกรรมเฉพาะทางอย่าง อุตสาหกรรมทางเคมี

6. ลดความเสี่ยงจากการล้มเหลวของระบบและการทำงานอย่างต่อเนื่อง ที่มีสาเหตุมาจากหน้าสัมผัสชำรุด

7. สวิตช์แบบโซลิดสเตตสามารถผลิตให้มีขนาดเล็กลงและกะทัดรัดกว่าสวิตซ์แบบทางกลได้

Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipiscing elit. Suspendisse varius enim in eros elementum tristique. Duis cursus, mi quis viverra ornare, eros dolor interdum nulla, ut commodo diam libero vitae erat. Aenean faucibus nibh et justo cursus id rutrum lorem imperdiet. Nunc ut sem vitae risus tristique posuere.

สวิตซ์แบบ solid-state แตกต่างกับ สวิตซ์แบบ mechanic อย่างไร

สวิตซ์แบบ solid-state แตกต่างกับ สวิตซ์แบบ mechanic อย่างไร

บทความนี้จะกล่าวถึงความสำคัญของสวิตช์โซลิดสเตตและสวิตช์เชิงกล ซึ่งเป็นส่วนประกอบสำคัญในวงจรความถี่วิทยุ

Lorem ipsum dolor amet consectetur adipiscing elit tortor massa arcu non.

ในระบบต่างๆ ที่ทันสมัย อุปกรณ์และชุดประกอบอิเล็กทรอนิกส์ได้มีการพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว ทั้งในด้านรูปร่าง ขนาด และค่าพารามิเตอร์ต่างๆ ที่สำคัญ โดยมุ่งเน้นที่ความเร็ว ความคงทน และความสามารถในการทำงานร่วมกับระบบอื่นๆ อย่างสมบูรณ์ อุปกรณ์หนึ่งที่มีความสำคัญมากต่อระบบ นั่นก็คือ สวิตช์แบบโซลิดสเตต (Solid-state Switch) และ สวิตช์แบบเครื่องกล (Mechanical Switch) ซึ่งเป็นส่วนประกอบที่จำเป็นต่อวงจรคลื่นความถี่วิทยุ (RF) ใช้ในการสวิตช์และควบคุมการไหลของสัญญาณ

ด้วยคุณลักษณะเฉพาะของแต่ละประเภทสวิตช์ ซึ่งมีทั้งข้อดีและข้อเสียที่แตกต่างกัน การใช้งานจึงต้องเลือกใช้ข้อดีของแต่ละประเภทให้เหมาะสมกับระบบและวัตถุประสงค์ของการใช้งาน เพื่อให้สามารถตอบสนองต่อความต้องการของผู้ใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

เหตุผลที่ต้องใช้สวิตช์แบบโซลิดสเตต

สวิตช์แบบโซลิดสเตต (Solid-state Switch) หรือที่เรียกอีกชื่อว่า     โซลิดสเตตรีเลย์ (SSR: Solid-state Relay) เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ทำหน้าที่เป็นสวิตช์ในการเปิดหรือปิดการทำงาน เมื่อได้รับแรงดันจากภายนอกเข้าสู่ระบบ โซลิดสเตตรีเลย์ (SSR) มีความแตกต่างจากสวิตช์ทั่วไป คือ ไม่มีส่วนที่เคลื่อนไหว โดยทั่วไป SSR มีใช้งาน 2 แบบ  คือ รีเลย์แบบออปติคัล (Optical Relays) และ อุปกรณ์ที่ช่วยแยกหรือการตัดการเชื่อมต่ออุปกรณ์ไฟฟ้า (Isolator Switch) เหตุผลและเงื่อนไขต่างๆในการใช้งาน โซลิด สเตรท รีเลย์ (SSR) มีดังต่อไปนี้

1. อายุการใช้งานยาวนาน

โซลิดสเตตรีเลย์ (SSR) ไม่มีส่วนประกอบที่ต้องสัมผัสหรือเคลื่อนไหวทางกล จึงไม่มีการสึกหรอ ทำให้มีอายุการใช้งานที่ยาวนานกว่าสวิตช์แบบทางกลทั่วไป แต่อย่างไรก็ตามยังมีข้อระวัง คือ ค่าความต้านทาน (Resistance) หลงเหลืออยู่ในวงจร ซึ่งจะทำให้เกิดความร้อนต่อระบบมากขึ้น

2. พลังงานน้อย

โซลิดสเตตรีเลย์ (SSR) ใช้พลังงานน้อยในการทำหน้าที่เป็นสวิตช์ โดยทั่วไปการเปิดสถานะการทำงานจะใช้พลังงานเพียงประมาณ 75% เท่านั้น

3. การทำงานเงียบ

โซลิดสเตตรีเลย์ (SSR) ไม่ทำให้เกิดเสียงรบกวน ข้อดีนี้ทำให้เหมาะสมกับการใช้งานในอุปกรณ์ที่ต้องการความเงียบ เช่น อุปกรณ์ทางการแพทย์

4. ทนทานต่อความสั่นสะเทือนและแรงกระแทก

เนื่องจากไม่มีส่วนประกอบที่เคลื่อนไหวในวงจร โซลิดสเตตรีเลย์ (SSR) จึงทนทานต่อแรงกระแทกและความสั่นสะเทือน

5. การทำงานที่รวดเร็ว

โซลิดสเตตรีเลย์  (SSR) สามารถเปิดและปิดได้อย่างรวดเร็ว เพราะไม่มีส่วนที่ต้องเคลื่อนไหว

6. ติดตั้งง่ายในหลากหลายระบบ

โซลิดสเตตรีเลย์  (SSR) สามารถติดตั้งในระบบที่มีขนาดพื้นที่ทั้งเล็กและใหญ่ได้ตามการออกแบบของระบบใช้งาน นอกจากนี้ยังมีหลายชนิดที่สามารถใช้ควบคุมสัญญาณต่างๆ ได้

สวิตซ์แบบทางกล (Mechanical Switch)

สวิตซ์แบบทางกล (Mechanical Switch) หรือที่รู้จักกันในชื่อ Electromechanical Switch เป็นสวิตซ์ที่ใช้ในการควบคุมการเปิดและปิดสัญญาณไฟฟ้าในระบบ RF และอุปกรณ์ต่างๆ ซึ่งต้องการการแปลงสถานะของสัญญาณไฟฟ้าผ่านทางกายภาพหรือทางกล โดยการเปิด-ปิดจะเกิดขึ้นผ่านการเคลื่อนที่ของชิ้นส่วนในสวิตซ์

ลักษณะของสวิตซ์แบบทางกล

- จำนวนช่องสัญญาณ แรงดันที่ใช้ เช่น 12 V 24 V และ 28V

- โหมดในการขับเคลื่อนสัญญาณ เช่น TTL (Transistor-Transistor Logic) เป็นต้น

- ชนิดของการอินเตอร์เฟซ  เช่น N Female SMA หรือ 2.92mm เป็นต้น

- ชนิดหัวต่อคอนเนคเตอร์ ทั้ง JTAG และ D-Sub เป็นต้น

- ความถี่ที่ใช้งาน เช่น  DC 3 - 50 GHz

โหมดในการทำงานของสวิตซ์แบบทางกล

โดยทั่วไปสวิตซ์แบบทางกลจะมี 3 โหมดหลักในการทำงาน ได้แก่:

- ปกติเปิด (Normally Open):เมื่อมีสัญญาณเข้ามาและเข้าเงื่อนไขจะอยู่ในสถานะปิด

- แลตช์ (Latch): เมื่อมีสัญญาณเข้ามาจะใช้สนามแม่เหล็กหรือการล็อกทางกลในการเปลี่ยนสถานะของสวิตซ์ เปิดหรือปิด ด้วยสถานะหน้าสัมผัสที่เชื่อมต่อกัน

- Fail-safe: ใช้หน้าสัมผัสเพื่อบ่งชี้สถานะของอุปกรณ์ที่ไม่สามารถทำงานได้หรือล้มเหลว

ข้อดีของสวิตช์แบบโซลิดสเตตเมื่อเทียบกับสวิตซ์แบบทางกล

1. เกิดการสึกหรอน้อยมากจากการทำงานและไม่มีชิ้นส่วนที่เคลื่อนไหว  ดังนั้นจึงมีอายุการใช้งานที่คงทนยาวนานกว่า

2. เสียงจากการทำงานที่เงียบ จึงเหมาะสำหรับการใช้งานหลากหลายมากขึ้น

3. ทำหน้าที่เป็นสวิตซ์การเปิด ปิดสัญญาณได้อย่างรวดเร็วและความถี่ที่สูง

4. ใช้พลังงานในการเปิดทำงานที่น้อย (Low Consumption)

5. ไม่เกิดประกายไฟ ถ้าจำเป็นต้องใช้ในอุตสาหกรรมเฉพาะทางอย่าง อุตสาหกรรมทางเคมี

6. ลดความเสี่ยงจากการล้มเหลวของระบบและการทำงานอย่างต่อเนื่อง ที่มีสาเหตุมาจากหน้าสัมผัสชำรุด

7. สวิตช์แบบโซลิดสเตตสามารถผลิตให้มีขนาดเล็กลงและกะทัดรัดกว่าสวิตซ์แบบทางกลได้