Sub-6 GHz คืออะไร และอุปกรณ์ที่สามารถทำงานร่วมกันได้มีอะไรบ้าง

Sub-6 GHz เป็นช่วงความถี่ที่มีบทบาทสำคัญในเทคโนโลยี 5G โดยช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการสื่อสารในแง่ของพื้นที่ครอบคลุม ความเสถียรของสัญญาณ และความสามารถในการรองร

Sub-6 GHz คืออะไร และอุปกรณ์ที่สามารถทำงานร่วมกันได้มีอะไรบ้าง

บันเราไม่สามารถปฏิเสธได้เลยว่า การใช้ชีวิตประจำวันต้องมีการพึ่งพาเทคโนโลยี ไม่ว่าจะเป็น WIFI อินเตอร์เน็ตบ้าน โทรทัศน์ คอมพิวเตอร์  โทรศัพท์มือถือ และอุปกรณ์ต่างๆที่ใช้ในการสื่อสารหรือเชื่อมต่อเพื่อเอื้ออำนวยความสะดวกต่อการดำรงชีวิตล้วนแล้วมาจากเทคโนโลยีด้านการสื่อสารและโทรคมนาคม  เทคโนโลยี 5G ก็เช่นเดียวกันที่มีความสามารถในการประโยชน์จากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าย่านความถี่หนึ่ง เพื่อตอบสนองการสื่อสารให้มีความรวดเร็วมากยิ่งขึ้น อย่างไรก็ตาม เทคโนโลยี 5G ก็ยังมีข้อจำกัดหลายประการที่ยังต้องมีการพัฒนา ดังนั้นจึงทำให้การค้นคว้าวิจัยโดยนำเอาช่วงความถี่ Sub-6 Hz มาทำให้เกิดประโยชน์และเพิ่มประสิทธิภาพของเทคโนโลยี 5G ให้ดียิ่งขึ้น ซึ่งผลจากการนำมาใช้นั้น จึงนำไปสู่การขยายขอบเขตพื้นที่ครอบคลุมกว้างมากยิ่งขึ้น ต้นทุนราคาที่ลดลง และสามารตอบสนองต่อผู้ใช้งานได้ดี อีกทั้งยังเพิ่มโอกาสสำหรับการใช้งานในเรื่องของ Iots (Internet of Things) ได้หลากหลายอีกด้วย

Sub-6 GHz อยู่ตรงไหนของ 5G 

Sub-6 GHz จะอยู่ที่ช่วงความถี่ระหว่าง 1-6 GHz ซึ่งสามารถแบ่งออกเป็น 2 ช่วงความถี่ได้ ดังนี้ 

 1. 600 MHz ถึง 2.4 GHz เรียกว่า Low band frequency

2. 1 GHz ถึง 6 GHz เรียกว่า Mid- band frequency

 ภาพแสดง แถบช่วงความถี่ 5G

ในความถี่ Sub-6 GHz เป็นช่วงความถี่ที่มีคุณลักษณ์ฉพาะและมีประสิทธิภาพต่อการสื่อสารโทรคมนาคมและการใช้งานอุปกรณ์เทคโนโลยี IOTs เพราะเนื่องจากความถี่ที่สามารถใช้งานได้นั้นทับซ้อนกันระหว่าง 4G ถึง 5G (mmWave) โดย Sub-6 GHz นั้นถูกพิจารณาให้อยู่ภายในส่วนของ 5G NR (NR: New Radio) หรือในบางเอกสารวิชาการนั้นจะแบ่งออกเป็น Frequency Range 1 (FR1) คือ ความถี่ในช่วง sub-6GHz และ Frequency Range 2  (FR2) คือความถี่ในช่วง mmWave อย่างไรก็ตามเพื่อให้สามารถเข้าใจได้ง่าย จึงขอแบ่งออกเป็น 2 ช่วงความถี่กว้างๆ ดังภาพด้านล่าง ดังนี้

  • 5G NR sub-6GHz ความถี่อยู่ประมาณระหว่าง (1 - 6 GHz)
  • 5G NR mmWave ความถี่อยู่ประมาณระหว่าง (24 – 100 GHz)

ภาพแสดง การแบ่งความถี่ 5G NR sub-GHz (1-6 GHz)กับ 5G NR mmWave (24 GHz-100 GHz)

ความได้เปรียบของการใช้งาน Sub-6 GHz 

  • พื้นที่ที่ครอบคลุมได้ไกลยิ่งขึ้น เพราะเนื่องจากช่วงความถี่ Sub-6 GHz นั้นต่ำลง ทำให้มีความยาวคลื่นมากขึ้น ส่งผลดีต่อการสื่อสารในแง่ของระยะทางที่เพิ่มมากขึ้น ถ้าเปรียบเทียบกับ 5G mmWave ที่มีความถี่ตั้งแต่ 24 GHz การใช้งานจะกระจุกตัวอยู่ในชุมชนเมืองเท่านั้น ซึ่งแตกต่างจากความถี่ Sub-6 GHz นั้นสามารถใช้งานได้ทั้งชุมชนเมืองและระยะที่ไกลออกไป
  • การรับส่งข้อมูลในห้วงความถี่ Sub-6 GHz มีประสิทธิภาพมากขึ้น เมื่อพบเจอกับ OBS (Obstructed Paths) เพราะสืบเนื่องจากคามถี่ต่ำความยาวคลื่นสูง จึงทำให้การเดินทางของคลื่นสามารถทะลุผ่านสิ่งกีดขวางได้ดีกว่า 5G mmWave
  • อุปกรณ์ที่สนับสนุนการใช้งานมีเพิ่มมากขึ้น ซึ่งรวมไปถึง IOT ที่มีการใช้งานอย่างแพร่หลายมากขึ้นในย่านความถี่ที่เกื้อหนุนซึ่งกันและกัน ซึ่งต่างจาก 5G mmWave ที่มีอุปกรณ์ค่อนข้างจำกัดในการใช้งานด้วยความเร็วสูงอย่าง เช่น VR/AR เป็นต้น
  • ลดราคาโครงสร้างพื้นฐานการสื่อสารโทรคมนาคม ในการเพิ่มเสาหรือตั้งสายอากาศเพิ่มในการเชื่อมต่อสัญญาณในการสื่อสารเพราะเนื่องจาก 5G mmWave มีความถี่สูง ทำให้ระยะทางในการเชื่อมต่อสัญญาณนั้นสั้นลงจึงส่งผลให้ต้องมีการเพิ่มการเชื่อมต่อให้มากยิ่งขึ้น นำไปสู่ค่าใช้จ่ายที่ต้องเพิ่มเติม ซึ่งแตกต่างจาก ความถี่ Sub-6 GHz สามารถใช้การเชื่อมต่อทางกายภาพแบบดั้งเดิมได้
  • ความปลอดภัยและความมั่นคงในการสื่อสาร อันเนื่องมาจาก 5G mmWave มีความถี่สูง จึงทำให้มีโอกาสที่จะได้รับผลกระทบจากสิ่งรบกวนมากขึ้นได้ 

แอพพลิเคชั่นที่สามารถใช้งานกับ Sub-6 GHz (Emerging Applications) 

Image from: Fu, Yaling & Li, Chao & Qiu, Kaifeng & Wang, Yang & Zhang, Chunhong. (2020). Research on Urban Distribution Network Planning and Optimization Measures Based on Real 3D Scenes. Journal of Physics

    • IOTs

    • Smart home

    • Industrial Use case for IOT

    • Mobile Phone

โดยอุปกรณ์หรือแอพลิเคชั่นในการใช้งานนั้น อาศัยความได้เปรียบของ Sub-6 GHz ทั้งในด้านของพื้นที่ที่ครอบคลุมมากยิ่งขึ้น ความมีเสถียรภาพของสัญญาณผ่านสิ่งกีดขวางอื่นๆ ด้วยคุณสมบัติความยาวคลื่นที่สูง และช่วงความถี่ที่ทับซ้อนกันระหว่าง 4G – 5G ที่มีการใช้งานไม่มากที่จะส่งผลต่อปริมาณความจุของช่อง สัญญาณ (Capacities) ดังนั้น ในย่านความถี่ Sub-6 GHz ปริมาณความจุ Capacities จึงสามารถเพิ่มขึ้นได้ ทำให้เกิดการใช้งานแอพลิเคชั่นอื่นๆและตอบสนองต่อความต้องการของผู้ใช้ได้มากยิ่งขึ้น

Sub-6 GHz คืออะไร และอุปกรณ์ที่สามารถทำงานร่วมกันได้มีอะไรบ้าง

Sub-6 GHz เป็นช่วงความถี่ที่มีบทบาทสำคัญในเทคโนโลยี 5G โดยช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการสื่อสารในแง่ของพื้นที่ครอบคลุม ความเสถียรของสัญญาณ และความสามารถในการรองร

นักเขียนบทความ
by 
นักเขียนบทความ
Sub-6 GHz คืออะไร และอุปกรณ์ที่สามารถทำงานร่วมกันได้มีอะไรบ้าง

Sub-6 GHz คืออะไร และอุปกรณ์ที่สามารถทำงานร่วมกันได้มีอะไรบ้าง

Sub-6 GHz เป็นช่วงความถี่ที่มีบทบาทสำคัญในเทคโนโลยี 5G โดยช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการสื่อสารในแง่ของพื้นที่ครอบคลุม ความเสถียรของสัญญาณ และความสามารถในการรองร

บันเราไม่สามารถปฏิเสธได้เลยว่า การใช้ชีวิตประจำวันต้องมีการพึ่งพาเทคโนโลยี ไม่ว่าจะเป็น WIFI อินเตอร์เน็ตบ้าน โทรทัศน์ คอมพิวเตอร์  โทรศัพท์มือถือ และอุปกรณ์ต่างๆที่ใช้ในการสื่อสารหรือเชื่อมต่อเพื่อเอื้ออำนวยความสะดวกต่อการดำรงชีวิตล้วนแล้วมาจากเทคโนโลยีด้านการสื่อสารและโทรคมนาคม  เทคโนโลยี 5G ก็เช่นเดียวกันที่มีความสามารถในการประโยชน์จากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าย่านความถี่หนึ่ง เพื่อตอบสนองการสื่อสารให้มีความรวดเร็วมากยิ่งขึ้น อย่างไรก็ตาม เทคโนโลยี 5G ก็ยังมีข้อจำกัดหลายประการที่ยังต้องมีการพัฒนา ดังนั้นจึงทำให้การค้นคว้าวิจัยโดยนำเอาช่วงความถี่ Sub-6 Hz มาทำให้เกิดประโยชน์และเพิ่มประสิทธิภาพของเทคโนโลยี 5G ให้ดียิ่งขึ้น ซึ่งผลจากการนำมาใช้นั้น จึงนำไปสู่การขยายขอบเขตพื้นที่ครอบคลุมกว้างมากยิ่งขึ้น ต้นทุนราคาที่ลดลง และสามารตอบสนองต่อผู้ใช้งานได้ดี อีกทั้งยังเพิ่มโอกาสสำหรับการใช้งานในเรื่องของ Iots (Internet of Things) ได้หลากหลายอีกด้วย

Sub-6 GHz อยู่ตรงไหนของ 5G 

Sub-6 GHz จะอยู่ที่ช่วงความถี่ระหว่าง 1-6 GHz ซึ่งสามารถแบ่งออกเป็น 2 ช่วงความถี่ได้ ดังนี้ 

 1. 600 MHz ถึง 2.4 GHz เรียกว่า Low band frequency

2. 1 GHz ถึง 6 GHz เรียกว่า Mid- band frequency

 ภาพแสดง แถบช่วงความถี่ 5G

ในความถี่ Sub-6 GHz เป็นช่วงความถี่ที่มีคุณลักษณ์ฉพาะและมีประสิทธิภาพต่อการสื่อสารโทรคมนาคมและการใช้งานอุปกรณ์เทคโนโลยี IOTs เพราะเนื่องจากความถี่ที่สามารถใช้งานได้นั้นทับซ้อนกันระหว่าง 4G ถึง 5G (mmWave) โดย Sub-6 GHz นั้นถูกพิจารณาให้อยู่ภายในส่วนของ 5G NR (NR: New Radio) หรือในบางเอกสารวิชาการนั้นจะแบ่งออกเป็น Frequency Range 1 (FR1) คือ ความถี่ในช่วง sub-6GHz และ Frequency Range 2  (FR2) คือความถี่ในช่วง mmWave อย่างไรก็ตามเพื่อให้สามารถเข้าใจได้ง่าย จึงขอแบ่งออกเป็น 2 ช่วงความถี่กว้างๆ ดังภาพด้านล่าง ดังนี้

  • 5G NR sub-6GHz ความถี่อยู่ประมาณระหว่าง (1 - 6 GHz)
  • 5G NR mmWave ความถี่อยู่ประมาณระหว่าง (24 – 100 GHz)

ภาพแสดง การแบ่งความถี่ 5G NR sub-GHz (1-6 GHz)กับ 5G NR mmWave (24 GHz-100 GHz)

ความได้เปรียบของการใช้งาน Sub-6 GHz 

  • พื้นที่ที่ครอบคลุมได้ไกลยิ่งขึ้น เพราะเนื่องจากช่วงความถี่ Sub-6 GHz นั้นต่ำลง ทำให้มีความยาวคลื่นมากขึ้น ส่งผลดีต่อการสื่อสารในแง่ของระยะทางที่เพิ่มมากขึ้น ถ้าเปรียบเทียบกับ 5G mmWave ที่มีความถี่ตั้งแต่ 24 GHz การใช้งานจะกระจุกตัวอยู่ในชุมชนเมืองเท่านั้น ซึ่งแตกต่างจากความถี่ Sub-6 GHz นั้นสามารถใช้งานได้ทั้งชุมชนเมืองและระยะที่ไกลออกไป
  • การรับส่งข้อมูลในห้วงความถี่ Sub-6 GHz มีประสิทธิภาพมากขึ้น เมื่อพบเจอกับ OBS (Obstructed Paths) เพราะสืบเนื่องจากคามถี่ต่ำความยาวคลื่นสูง จึงทำให้การเดินทางของคลื่นสามารถทะลุผ่านสิ่งกีดขวางได้ดีกว่า 5G mmWave
  • อุปกรณ์ที่สนับสนุนการใช้งานมีเพิ่มมากขึ้น ซึ่งรวมไปถึง IOT ที่มีการใช้งานอย่างแพร่หลายมากขึ้นในย่านความถี่ที่เกื้อหนุนซึ่งกันและกัน ซึ่งต่างจาก 5G mmWave ที่มีอุปกรณ์ค่อนข้างจำกัดในการใช้งานด้วยความเร็วสูงอย่าง เช่น VR/AR เป็นต้น
  • ลดราคาโครงสร้างพื้นฐานการสื่อสารโทรคมนาคม ในการเพิ่มเสาหรือตั้งสายอากาศเพิ่มในการเชื่อมต่อสัญญาณในการสื่อสารเพราะเนื่องจาก 5G mmWave มีความถี่สูง ทำให้ระยะทางในการเชื่อมต่อสัญญาณนั้นสั้นลงจึงส่งผลให้ต้องมีการเพิ่มการเชื่อมต่อให้มากยิ่งขึ้น นำไปสู่ค่าใช้จ่ายที่ต้องเพิ่มเติม ซึ่งแตกต่างจาก ความถี่ Sub-6 GHz สามารถใช้การเชื่อมต่อทางกายภาพแบบดั้งเดิมได้
  • ความปลอดภัยและความมั่นคงในการสื่อสาร อันเนื่องมาจาก 5G mmWave มีความถี่สูง จึงทำให้มีโอกาสที่จะได้รับผลกระทบจากสิ่งรบกวนมากขึ้นได้ 

แอพพลิเคชั่นที่สามารถใช้งานกับ Sub-6 GHz (Emerging Applications) 

Image from: Fu, Yaling & Li, Chao & Qiu, Kaifeng & Wang, Yang & Zhang, Chunhong. (2020). Research on Urban Distribution Network Planning and Optimization Measures Based on Real 3D Scenes. Journal of Physics

    • IOTs

    • Smart home

    • Industrial Use case for IOT

    • Mobile Phone

โดยอุปกรณ์หรือแอพลิเคชั่นในการใช้งานนั้น อาศัยความได้เปรียบของ Sub-6 GHz ทั้งในด้านของพื้นที่ที่ครอบคลุมมากยิ่งขึ้น ความมีเสถียรภาพของสัญญาณผ่านสิ่งกีดขวางอื่นๆ ด้วยคุณสมบัติความยาวคลื่นที่สูง และช่วงความถี่ที่ทับซ้อนกันระหว่าง 4G – 5G ที่มีการใช้งานไม่มากที่จะส่งผลต่อปริมาณความจุของช่อง สัญญาณ (Capacities) ดังนั้น ในย่านความถี่ Sub-6 GHz ปริมาณความจุ Capacities จึงสามารถเพิ่มขึ้นได้ ทำให้เกิดการใช้งานแอพลิเคชั่นอื่นๆและตอบสนองต่อความต้องการของผู้ใช้ได้มากยิ่งขึ้น

Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipiscing elit. Suspendisse varius enim in eros elementum tristique. Duis cursus, mi quis viverra ornare, eros dolor interdum nulla, ut commodo diam libero vitae erat. Aenean faucibus nibh et justo cursus id rutrum lorem imperdiet. Nunc ut sem vitae risus tristique posuere.

Sub-6 GHz คืออะไร และอุปกรณ์ที่สามารถทำงานร่วมกันได้มีอะไรบ้าง

Sub-6 GHz คืออะไร และอุปกรณ์ที่สามารถทำงานร่วมกันได้มีอะไรบ้าง

Sub-6 GHz เป็นช่วงความถี่ที่มีบทบาทสำคัญในเทคโนโลยี 5G โดยช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการสื่อสารในแง่ของพื้นที่ครอบคลุม ความเสถียรของสัญญาณ และความสามารถในการรองร

Lorem ipsum dolor amet consectetur adipiscing elit tortor massa arcu non.

บันเราไม่สามารถปฏิเสธได้เลยว่า การใช้ชีวิตประจำวันต้องมีการพึ่งพาเทคโนโลยี ไม่ว่าจะเป็น WIFI อินเตอร์เน็ตบ้าน โทรทัศน์ คอมพิวเตอร์  โทรศัพท์มือถือ และอุปกรณ์ต่างๆที่ใช้ในการสื่อสารหรือเชื่อมต่อเพื่อเอื้ออำนวยความสะดวกต่อการดำรงชีวิตล้วนแล้วมาจากเทคโนโลยีด้านการสื่อสารและโทรคมนาคม  เทคโนโลยี 5G ก็เช่นเดียวกันที่มีความสามารถในการประโยชน์จากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าย่านความถี่หนึ่ง เพื่อตอบสนองการสื่อสารให้มีความรวดเร็วมากยิ่งขึ้น อย่างไรก็ตาม เทคโนโลยี 5G ก็ยังมีข้อจำกัดหลายประการที่ยังต้องมีการพัฒนา ดังนั้นจึงทำให้การค้นคว้าวิจัยโดยนำเอาช่วงความถี่ Sub-6 Hz มาทำให้เกิดประโยชน์และเพิ่มประสิทธิภาพของเทคโนโลยี 5G ให้ดียิ่งขึ้น ซึ่งผลจากการนำมาใช้นั้น จึงนำไปสู่การขยายขอบเขตพื้นที่ครอบคลุมกว้างมากยิ่งขึ้น ต้นทุนราคาที่ลดลง และสามารตอบสนองต่อผู้ใช้งานได้ดี อีกทั้งยังเพิ่มโอกาสสำหรับการใช้งานในเรื่องของ Iots (Internet of Things) ได้หลากหลายอีกด้วย

Sub-6 GHz อยู่ตรงไหนของ 5G 

Sub-6 GHz จะอยู่ที่ช่วงความถี่ระหว่าง 1-6 GHz ซึ่งสามารถแบ่งออกเป็น 2 ช่วงความถี่ได้ ดังนี้ 

 1. 600 MHz ถึง 2.4 GHz เรียกว่า Low band frequency

2. 1 GHz ถึง 6 GHz เรียกว่า Mid- band frequency

 ภาพแสดง แถบช่วงความถี่ 5G

ในความถี่ Sub-6 GHz เป็นช่วงความถี่ที่มีคุณลักษณ์ฉพาะและมีประสิทธิภาพต่อการสื่อสารโทรคมนาคมและการใช้งานอุปกรณ์เทคโนโลยี IOTs เพราะเนื่องจากความถี่ที่สามารถใช้งานได้นั้นทับซ้อนกันระหว่าง 4G ถึง 5G (mmWave) โดย Sub-6 GHz นั้นถูกพิจารณาให้อยู่ภายในส่วนของ 5G NR (NR: New Radio) หรือในบางเอกสารวิชาการนั้นจะแบ่งออกเป็น Frequency Range 1 (FR1) คือ ความถี่ในช่วง sub-6GHz และ Frequency Range 2  (FR2) คือความถี่ในช่วง mmWave อย่างไรก็ตามเพื่อให้สามารถเข้าใจได้ง่าย จึงขอแบ่งออกเป็น 2 ช่วงความถี่กว้างๆ ดังภาพด้านล่าง ดังนี้

  • 5G NR sub-6GHz ความถี่อยู่ประมาณระหว่าง (1 - 6 GHz)
  • 5G NR mmWave ความถี่อยู่ประมาณระหว่าง (24 – 100 GHz)

ภาพแสดง การแบ่งความถี่ 5G NR sub-GHz (1-6 GHz)กับ 5G NR mmWave (24 GHz-100 GHz)

ความได้เปรียบของการใช้งาน Sub-6 GHz 

  • พื้นที่ที่ครอบคลุมได้ไกลยิ่งขึ้น เพราะเนื่องจากช่วงความถี่ Sub-6 GHz นั้นต่ำลง ทำให้มีความยาวคลื่นมากขึ้น ส่งผลดีต่อการสื่อสารในแง่ของระยะทางที่เพิ่มมากขึ้น ถ้าเปรียบเทียบกับ 5G mmWave ที่มีความถี่ตั้งแต่ 24 GHz การใช้งานจะกระจุกตัวอยู่ในชุมชนเมืองเท่านั้น ซึ่งแตกต่างจากความถี่ Sub-6 GHz นั้นสามารถใช้งานได้ทั้งชุมชนเมืองและระยะที่ไกลออกไป
  • การรับส่งข้อมูลในห้วงความถี่ Sub-6 GHz มีประสิทธิภาพมากขึ้น เมื่อพบเจอกับ OBS (Obstructed Paths) เพราะสืบเนื่องจากคามถี่ต่ำความยาวคลื่นสูง จึงทำให้การเดินทางของคลื่นสามารถทะลุผ่านสิ่งกีดขวางได้ดีกว่า 5G mmWave
  • อุปกรณ์ที่สนับสนุนการใช้งานมีเพิ่มมากขึ้น ซึ่งรวมไปถึง IOT ที่มีการใช้งานอย่างแพร่หลายมากขึ้นในย่านความถี่ที่เกื้อหนุนซึ่งกันและกัน ซึ่งต่างจาก 5G mmWave ที่มีอุปกรณ์ค่อนข้างจำกัดในการใช้งานด้วยความเร็วสูงอย่าง เช่น VR/AR เป็นต้น
  • ลดราคาโครงสร้างพื้นฐานการสื่อสารโทรคมนาคม ในการเพิ่มเสาหรือตั้งสายอากาศเพิ่มในการเชื่อมต่อสัญญาณในการสื่อสารเพราะเนื่องจาก 5G mmWave มีความถี่สูง ทำให้ระยะทางในการเชื่อมต่อสัญญาณนั้นสั้นลงจึงส่งผลให้ต้องมีการเพิ่มการเชื่อมต่อให้มากยิ่งขึ้น นำไปสู่ค่าใช้จ่ายที่ต้องเพิ่มเติม ซึ่งแตกต่างจาก ความถี่ Sub-6 GHz สามารถใช้การเชื่อมต่อทางกายภาพแบบดั้งเดิมได้
  • ความปลอดภัยและความมั่นคงในการสื่อสาร อันเนื่องมาจาก 5G mmWave มีความถี่สูง จึงทำให้มีโอกาสที่จะได้รับผลกระทบจากสิ่งรบกวนมากขึ้นได้ 

แอพพลิเคชั่นที่สามารถใช้งานกับ Sub-6 GHz (Emerging Applications) 

Image from: Fu, Yaling & Li, Chao & Qiu, Kaifeng & Wang, Yang & Zhang, Chunhong. (2020). Research on Urban Distribution Network Planning and Optimization Measures Based on Real 3D Scenes. Journal of Physics

    • IOTs

    • Smart home

    • Industrial Use case for IOT

    • Mobile Phone

โดยอุปกรณ์หรือแอพลิเคชั่นในการใช้งานนั้น อาศัยความได้เปรียบของ Sub-6 GHz ทั้งในด้านของพื้นที่ที่ครอบคลุมมากยิ่งขึ้น ความมีเสถียรภาพของสัญญาณผ่านสิ่งกีดขวางอื่นๆ ด้วยคุณสมบัติความยาวคลื่นที่สูง และช่วงความถี่ที่ทับซ้อนกันระหว่าง 4G – 5G ที่มีการใช้งานไม่มากที่จะส่งผลต่อปริมาณความจุของช่อง สัญญาณ (Capacities) ดังนั้น ในย่านความถี่ Sub-6 GHz ปริมาณความจุ Capacities จึงสามารถเพิ่มขึ้นได้ ทำให้เกิดการใช้งานแอพลิเคชั่นอื่นๆและตอบสนองต่อความต้องการของผู้ใช้ได้มากยิ่งขึ้น