สมาร์ทไบโอเซ็นเซอร์ที่เป็นอุปกรณ์สวมใส่ในการดูแลสุขภาพมีประโยชน์อย่างไร

อุปกรณ์ไบโอเซ็นเซอร์ ( Biomedical Sensors) นั้นเป็นอุปกรณ์ตรวจวัดทางชีวภาพที่มีหน้าที่ในการแปลงปริมาณสารที่ตรวจวัดเป็นสัญญาณทางไฟฟ้า หรืออิเล็กทรอนิกส์ ซึ

สมาร์ทไบโอเซ็นเซอร์ที่เป็นอุปกรณ์สวมใส่ในการดูแลสุขภาพมีประโยชน์อย่างไร

อุปกรณ์ไบโอเซ็นเซอร์ ( Biomedical Sensors) เป็นอุปกรณ์ตรวจวัดทางชีวภาพ ที่มีหน้าที่แปลงปริมาณสารที่ตรวจวัดให้เป็นสัญญาณไฟฟ้า หรืออิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งในปัจจุบันมีการใช้งานอย่างแพร่หลาย ไม่ว่าจะเป็นอุตสาหกรรมทางการแพทย์ อุตสาหกรรมทั่วไป อุตสาหกรรมสิ่งแวดล้อม และอุตสาหกรรมทางทหาร ทำให้มีการพัฒนาอย่างก้าวกระโดด รวมถึงการศึกษาค้นคว้าวิจัยเป็นจำนวนมาก ทำให้เทคโนโลยีด้านอุปกรณ์ตรวจวัดทางชีวภาพมีประสิทธิภาพ ถูกต้อง และแม่นยำมากยิ่งขึ้น อีกทั้งยังได้รับความนิยมในการใช้งานหรือสวมใส่เพื่่อดูแล สุขภาพอีกด้วยปัจจัยที่ทำให้

ใช้เทคโนโลยีอุปกรณ์ตรวจวัดทางชีวภาพ

- ตัวแปรทางกายภาพ (Physical Parameters) เมื่อวัดค่า จะไม่เกิดปฏิกิริยากับตัวแปรทางกายภาพเช่น ค่าความเป็นกรดหรือด่าง (pH) ค่าอุณหภูมิ (Temperature) เป็นต้น

- ความแม่นยำถูกต้องของสัญญาณที่ได้รับ มีความเที่ยงตรง และสามารถวัดซ้ำได้

- การตรวจวัดค่าต่างๆ ไม่ทำลายสิ่ที่ต้องการวัด หรือสารตัวอย่าง

- ความจำเพาะของสารที่ต้องการวัด เป็นค่าเฉพาะหน่วย และมีความเสถียร

- ราคาไม่แพง มีขนาดเล็ก เคลื่อนย้ายได้ อีกทั้งสามารถวัดได้ด้วยตนเอง ไม่ต้องใช้ห้องแลบหรือห้องปฏิบัติการในการวัดค่า

ส่วนประกอบของอุปกรณ์ตรวจวัดทางชีวภาพ

1. สารทางชีวภาพ ( Biological Element) คือ สารที่ต้องการวัดเพื่อส่งสัญญาณ ไม่ว่าจะเป็นแอนไซม์ หรือสารอื่นๆ

2. ตัวรับส่งสัญญาณ (Transducer) มีหน้าที่ในการรับส่งและเปลี่ยนสัญญาณทางชีวภาพให้กลาย เป็นสัญญาณไฟฟ้า ไม่ว่าจะเป็นออพติคัล หรือเมคานิคอล อะคูสติกส์

คุณลักษณะที่สำคัญของอุปกรณ์ตรวจวัดทางชีวภาพทีใช้ ในการสวมใส่

- Biocompatible Wearable Sensors เซ็นเซอร์อัจฉริยะที่สามารถสวมใส่มีความยืดหยุ่นสำหรับการตรวจวัดทางชีวภาพ  กล่าวคือ ไม่มีผลข้างเคียง หรือเป็นพิษต่อร่างกาย เมื่อใช้งาน โดยเซ็นเซอร์จะทำหน้าที่ดูดซับค่าที่ต้องการวัด หรือที่เรียกว่า “Bioabsorbable” โดยทั่วไปจะใช้สารกึ่งตัวนำอย่างซิลิกอนเป็นพื้นฐานในการสร้างเซ็นเซอร์ หรือใช้สารทางชีวภาพในการสร้างเช่น โซเดียมอับจิเนต ไคติน หรือเซลลูโลส เป็นต้น

- Biodegradable Flexible Sensors เซ็นเซอร์อัจฉริยะที่ใช้ได้อย่างต่อเนื่อง ช่วยในการลดจำนวนของเสียทางอิเล็กทรอนิกส์ อีกทั้งวัสดุมีราคาไม่สูง ปลอดภัย เมื่อสวมใส่ระหว่างการรักษา โดยเฉพาะอย่างยิ่ง หากทำการปลูกถ่ายในร่างกาย เพื่อตรวจเช็คข้อมูลร่างกาย วัสดุที่ใช้เป็นลักษณะโพลีเมอร์ตัวนำไฟฟ้าหรือสารกึ่งตัวนำ ซิลิกอน มักใช้ในการตรวจเช็คในส่วนของโรคหัวใจและหลอดเลือด เป็นต้น

- Self-Healing Flexible Sensors

เซ็นเซอร์อัจฉริยะ ที่วัสดุมีความคงทน มีอายุการใช้งานที่ยาวนาน เนื่องจากเซ็นเซอร์อัจฉริยะมีโอกาสเป็นรอยขีดข่วน หรือ เกิดความเสียหายต่อการใช้งานระหว่างทำงาน ซึ่งจะทำให้ประสิทธิภาพลดลง ดังนั้น วัสดุที่ใช้สร้างเซ็นเซอร์อัจฉริยะต้องมีฟังก์ชั่นการทำงานหลากหลายสามารถฟื้นตัวได้รวดเร็ว หรือทนทานต่อความเสียที่เกิดจากผู้ใช้งาน วัสดุดังกว่าวรู้จักในอีกชื่อว่า self-healing polymers คือ โพลีเมอร์ที่มีคุณสมบัติในการรักษา หรือยืดหยุ่นตัวเองได้ อาจทำจากสารประกอบของยาง เช่น ไมโครนิกเกลผสมกับโพลีเมอร์อื่นๆ เป็นต้น

รูปแบบการใช้งานไบโอเซ็นเซอร์อัจฉริยะ อุปกรณ์สวมใส่เพื่อการดูแลสุขภาพ

1. Biophysical Monitoring คือ การตรวจจับสัญญาณที่ได้จากร่างกายทางกายภาพ

- Heart Rate and Pulse Monitoring  การตรวจวัดอัตราการเต้นของหัวใจและชีพจร เช่น ค่า ECG ใช้ไบโอเซ็นเซอร์อัจฉริยะที่ทำมาจากสารประกอบ คาร์บอนนาโนทูปและโพลีไกเมทิลไซโลเซน (nanotube (CNT)-polydimethylsiloxane (PDMS)) เป็นต้น

- Human Motion Monitoring  การตรวจวัดการเคลื่อนไหวของมนุษย์โดยการวิเคราะห์จาก รูปแบบการเคลื่อนไหวเพื่อป้องกันการเกิดโรคต่างๆ เช่น เนื้องอก หรืออัลไซเมอร์

- Temperature Monitoring  การตรวจวัดอุณหภูมิเพื่อค้นหาความผิดปกติของร่างกาย

2. Biochemical Tracking คือ การติดตามสถานะต่างๆทางชีวเคมี

- Blood Glucose Recording การบันทึกกลูโคสในกระแสเลือด เช่น การเกิดโรคเบาหวาน

- Biomolecule Recording การบันทึกค่าชีวโมเลกุล เพื่อวิเคราะห์และตรวจจับแนวโน้มการเกิดโรคมะเร็ง

- pH Recording  การบันทึกค่า pH ความเป็นกรดด่าง

3. Real-Time Detection of Environmental Information คือ การตรวจจับวัดค่าข้อมูลสิ่งแวดล้อมแบบเรียลไทม์ เพื่อปกป้องร่างกายและสุขภาพในการตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อมรอบตัวเองได้ดียิ่งขึ้น

- Gas Detection  การตรวจจับก๊าซ

- Humidity Detection  การตรวจจับความชื้น

สมาร์ทไบโอเซ็นเซอร์ที่เป็นอุปกรณ์สวมใส่ในการดูแลสุขภาพมีประโยชน์อย่างไร

อุปกรณ์ไบโอเซ็นเซอร์ ( Biomedical Sensors) นั้นเป็นอุปกรณ์ตรวจวัดทางชีวภาพที่มีหน้าที่ในการแปลงปริมาณสารที่ตรวจวัดเป็นสัญญาณทางไฟฟ้า หรืออิเล็กทรอนิกส์ ซึ

นักเขียนบทความ
by 
นักเขียนบทความ
สมาร์ทไบโอเซ็นเซอร์ที่เป็นอุปกรณ์สวมใส่ในการดูแลสุขภาพมีประโยชน์อย่างไร

สมาร์ทไบโอเซ็นเซอร์ที่เป็นอุปกรณ์สวมใส่ในการดูแลสุขภาพมีประโยชน์อย่างไร

อุปกรณ์ไบโอเซ็นเซอร์ ( Biomedical Sensors) นั้นเป็นอุปกรณ์ตรวจวัดทางชีวภาพที่มีหน้าที่ในการแปลงปริมาณสารที่ตรวจวัดเป็นสัญญาณทางไฟฟ้า หรืออิเล็กทรอนิกส์ ซึ

อุปกรณ์ไบโอเซ็นเซอร์ ( Biomedical Sensors) เป็นอุปกรณ์ตรวจวัดทางชีวภาพ ที่มีหน้าที่แปลงปริมาณสารที่ตรวจวัดให้เป็นสัญญาณไฟฟ้า หรืออิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งในปัจจุบันมีการใช้งานอย่างแพร่หลาย ไม่ว่าจะเป็นอุตสาหกรรมทางการแพทย์ อุตสาหกรรมทั่วไป อุตสาหกรรมสิ่งแวดล้อม และอุตสาหกรรมทางทหาร ทำให้มีการพัฒนาอย่างก้าวกระโดด รวมถึงการศึกษาค้นคว้าวิจัยเป็นจำนวนมาก ทำให้เทคโนโลยีด้านอุปกรณ์ตรวจวัดทางชีวภาพมีประสิทธิภาพ ถูกต้อง และแม่นยำมากยิ่งขึ้น อีกทั้งยังได้รับความนิยมในการใช้งานหรือสวมใส่เพื่่อดูแล สุขภาพอีกด้วยปัจจัยที่ทำให้

ใช้เทคโนโลยีอุปกรณ์ตรวจวัดทางชีวภาพ

- ตัวแปรทางกายภาพ (Physical Parameters) เมื่อวัดค่า จะไม่เกิดปฏิกิริยากับตัวแปรทางกายภาพเช่น ค่าความเป็นกรดหรือด่าง (pH) ค่าอุณหภูมิ (Temperature) เป็นต้น

- ความแม่นยำถูกต้องของสัญญาณที่ได้รับ มีความเที่ยงตรง และสามารถวัดซ้ำได้

- การตรวจวัดค่าต่างๆ ไม่ทำลายสิ่ที่ต้องการวัด หรือสารตัวอย่าง

- ความจำเพาะของสารที่ต้องการวัด เป็นค่าเฉพาะหน่วย และมีความเสถียร

- ราคาไม่แพง มีขนาดเล็ก เคลื่อนย้ายได้ อีกทั้งสามารถวัดได้ด้วยตนเอง ไม่ต้องใช้ห้องแลบหรือห้องปฏิบัติการในการวัดค่า

ส่วนประกอบของอุปกรณ์ตรวจวัดทางชีวภาพ

1. สารทางชีวภาพ ( Biological Element) คือ สารที่ต้องการวัดเพื่อส่งสัญญาณ ไม่ว่าจะเป็นแอนไซม์ หรือสารอื่นๆ

2. ตัวรับส่งสัญญาณ (Transducer) มีหน้าที่ในการรับส่งและเปลี่ยนสัญญาณทางชีวภาพให้กลาย เป็นสัญญาณไฟฟ้า ไม่ว่าจะเป็นออพติคัล หรือเมคานิคอล อะคูสติกส์

คุณลักษณะที่สำคัญของอุปกรณ์ตรวจวัดทางชีวภาพทีใช้ ในการสวมใส่

- Biocompatible Wearable Sensors เซ็นเซอร์อัจฉริยะที่สามารถสวมใส่มีความยืดหยุ่นสำหรับการตรวจวัดทางชีวภาพ  กล่าวคือ ไม่มีผลข้างเคียง หรือเป็นพิษต่อร่างกาย เมื่อใช้งาน โดยเซ็นเซอร์จะทำหน้าที่ดูดซับค่าที่ต้องการวัด หรือที่เรียกว่า “Bioabsorbable” โดยทั่วไปจะใช้สารกึ่งตัวนำอย่างซิลิกอนเป็นพื้นฐานในการสร้างเซ็นเซอร์ หรือใช้สารทางชีวภาพในการสร้างเช่น โซเดียมอับจิเนต ไคติน หรือเซลลูโลส เป็นต้น

- Biodegradable Flexible Sensors เซ็นเซอร์อัจฉริยะที่ใช้ได้อย่างต่อเนื่อง ช่วยในการลดจำนวนของเสียทางอิเล็กทรอนิกส์ อีกทั้งวัสดุมีราคาไม่สูง ปลอดภัย เมื่อสวมใส่ระหว่างการรักษา โดยเฉพาะอย่างยิ่ง หากทำการปลูกถ่ายในร่างกาย เพื่อตรวจเช็คข้อมูลร่างกาย วัสดุที่ใช้เป็นลักษณะโพลีเมอร์ตัวนำไฟฟ้าหรือสารกึ่งตัวนำ ซิลิกอน มักใช้ในการตรวจเช็คในส่วนของโรคหัวใจและหลอดเลือด เป็นต้น

- Self-Healing Flexible Sensors

เซ็นเซอร์อัจฉริยะ ที่วัสดุมีความคงทน มีอายุการใช้งานที่ยาวนาน เนื่องจากเซ็นเซอร์อัจฉริยะมีโอกาสเป็นรอยขีดข่วน หรือ เกิดความเสียหายต่อการใช้งานระหว่างทำงาน ซึ่งจะทำให้ประสิทธิภาพลดลง ดังนั้น วัสดุที่ใช้สร้างเซ็นเซอร์อัจฉริยะต้องมีฟังก์ชั่นการทำงานหลากหลายสามารถฟื้นตัวได้รวดเร็ว หรือทนทานต่อความเสียที่เกิดจากผู้ใช้งาน วัสดุดังกว่าวรู้จักในอีกชื่อว่า self-healing polymers คือ โพลีเมอร์ที่มีคุณสมบัติในการรักษา หรือยืดหยุ่นตัวเองได้ อาจทำจากสารประกอบของยาง เช่น ไมโครนิกเกลผสมกับโพลีเมอร์อื่นๆ เป็นต้น

รูปแบบการใช้งานไบโอเซ็นเซอร์อัจฉริยะ อุปกรณ์สวมใส่เพื่อการดูแลสุขภาพ

1. Biophysical Monitoring คือ การตรวจจับสัญญาณที่ได้จากร่างกายทางกายภาพ

- Heart Rate and Pulse Monitoring  การตรวจวัดอัตราการเต้นของหัวใจและชีพจร เช่น ค่า ECG ใช้ไบโอเซ็นเซอร์อัจฉริยะที่ทำมาจากสารประกอบ คาร์บอนนาโนทูปและโพลีไกเมทิลไซโลเซน (nanotube (CNT)-polydimethylsiloxane (PDMS)) เป็นต้น

- Human Motion Monitoring  การตรวจวัดการเคลื่อนไหวของมนุษย์โดยการวิเคราะห์จาก รูปแบบการเคลื่อนไหวเพื่อป้องกันการเกิดโรคต่างๆ เช่น เนื้องอก หรืออัลไซเมอร์

- Temperature Monitoring  การตรวจวัดอุณหภูมิเพื่อค้นหาความผิดปกติของร่างกาย

2. Biochemical Tracking คือ การติดตามสถานะต่างๆทางชีวเคมี

- Blood Glucose Recording การบันทึกกลูโคสในกระแสเลือด เช่น การเกิดโรคเบาหวาน

- Biomolecule Recording การบันทึกค่าชีวโมเลกุล เพื่อวิเคราะห์และตรวจจับแนวโน้มการเกิดโรคมะเร็ง

- pH Recording  การบันทึกค่า pH ความเป็นกรดด่าง

3. Real-Time Detection of Environmental Information คือ การตรวจจับวัดค่าข้อมูลสิ่งแวดล้อมแบบเรียลไทม์ เพื่อปกป้องร่างกายและสุขภาพในการตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อมรอบตัวเองได้ดียิ่งขึ้น

- Gas Detection  การตรวจจับก๊าซ

- Humidity Detection  การตรวจจับความชื้น

Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipiscing elit. Suspendisse varius enim in eros elementum tristique. Duis cursus, mi quis viverra ornare, eros dolor interdum nulla, ut commodo diam libero vitae erat. Aenean faucibus nibh et justo cursus id rutrum lorem imperdiet. Nunc ut sem vitae risus tristique posuere.

สมาร์ทไบโอเซ็นเซอร์ที่เป็นอุปกรณ์สวมใส่ในการดูแลสุขภาพมีประโยชน์อย่างไร

สมาร์ทไบโอเซ็นเซอร์ที่เป็นอุปกรณ์สวมใส่ในการดูแลสุขภาพมีประโยชน์อย่างไร

อุปกรณ์ไบโอเซ็นเซอร์ ( Biomedical Sensors) นั้นเป็นอุปกรณ์ตรวจวัดทางชีวภาพที่มีหน้าที่ในการแปลงปริมาณสารที่ตรวจวัดเป็นสัญญาณทางไฟฟ้า หรืออิเล็กทรอนิกส์ ซึ

Lorem ipsum dolor amet consectetur adipiscing elit tortor massa arcu non.

อุปกรณ์ไบโอเซ็นเซอร์ ( Biomedical Sensors) เป็นอุปกรณ์ตรวจวัดทางชีวภาพ ที่มีหน้าที่แปลงปริมาณสารที่ตรวจวัดให้เป็นสัญญาณไฟฟ้า หรืออิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งในปัจจุบันมีการใช้งานอย่างแพร่หลาย ไม่ว่าจะเป็นอุตสาหกรรมทางการแพทย์ อุตสาหกรรมทั่วไป อุตสาหกรรมสิ่งแวดล้อม และอุตสาหกรรมทางทหาร ทำให้มีการพัฒนาอย่างก้าวกระโดด รวมถึงการศึกษาค้นคว้าวิจัยเป็นจำนวนมาก ทำให้เทคโนโลยีด้านอุปกรณ์ตรวจวัดทางชีวภาพมีประสิทธิภาพ ถูกต้อง และแม่นยำมากยิ่งขึ้น อีกทั้งยังได้รับความนิยมในการใช้งานหรือสวมใส่เพื่่อดูแล สุขภาพอีกด้วยปัจจัยที่ทำให้

ใช้เทคโนโลยีอุปกรณ์ตรวจวัดทางชีวภาพ

- ตัวแปรทางกายภาพ (Physical Parameters) เมื่อวัดค่า จะไม่เกิดปฏิกิริยากับตัวแปรทางกายภาพเช่น ค่าความเป็นกรดหรือด่าง (pH) ค่าอุณหภูมิ (Temperature) เป็นต้น

- ความแม่นยำถูกต้องของสัญญาณที่ได้รับ มีความเที่ยงตรง และสามารถวัดซ้ำได้

- การตรวจวัดค่าต่างๆ ไม่ทำลายสิ่ที่ต้องการวัด หรือสารตัวอย่าง

- ความจำเพาะของสารที่ต้องการวัด เป็นค่าเฉพาะหน่วย และมีความเสถียร

- ราคาไม่แพง มีขนาดเล็ก เคลื่อนย้ายได้ อีกทั้งสามารถวัดได้ด้วยตนเอง ไม่ต้องใช้ห้องแลบหรือห้องปฏิบัติการในการวัดค่า

ส่วนประกอบของอุปกรณ์ตรวจวัดทางชีวภาพ

1. สารทางชีวภาพ ( Biological Element) คือ สารที่ต้องการวัดเพื่อส่งสัญญาณ ไม่ว่าจะเป็นแอนไซม์ หรือสารอื่นๆ

2. ตัวรับส่งสัญญาณ (Transducer) มีหน้าที่ในการรับส่งและเปลี่ยนสัญญาณทางชีวภาพให้กลาย เป็นสัญญาณไฟฟ้า ไม่ว่าจะเป็นออพติคัล หรือเมคานิคอล อะคูสติกส์

คุณลักษณะที่สำคัญของอุปกรณ์ตรวจวัดทางชีวภาพทีใช้ ในการสวมใส่

- Biocompatible Wearable Sensors เซ็นเซอร์อัจฉริยะที่สามารถสวมใส่มีความยืดหยุ่นสำหรับการตรวจวัดทางชีวภาพ  กล่าวคือ ไม่มีผลข้างเคียง หรือเป็นพิษต่อร่างกาย เมื่อใช้งาน โดยเซ็นเซอร์จะทำหน้าที่ดูดซับค่าที่ต้องการวัด หรือที่เรียกว่า “Bioabsorbable” โดยทั่วไปจะใช้สารกึ่งตัวนำอย่างซิลิกอนเป็นพื้นฐานในการสร้างเซ็นเซอร์ หรือใช้สารทางชีวภาพในการสร้างเช่น โซเดียมอับจิเนต ไคติน หรือเซลลูโลส เป็นต้น

- Biodegradable Flexible Sensors เซ็นเซอร์อัจฉริยะที่ใช้ได้อย่างต่อเนื่อง ช่วยในการลดจำนวนของเสียทางอิเล็กทรอนิกส์ อีกทั้งวัสดุมีราคาไม่สูง ปลอดภัย เมื่อสวมใส่ระหว่างการรักษา โดยเฉพาะอย่างยิ่ง หากทำการปลูกถ่ายในร่างกาย เพื่อตรวจเช็คข้อมูลร่างกาย วัสดุที่ใช้เป็นลักษณะโพลีเมอร์ตัวนำไฟฟ้าหรือสารกึ่งตัวนำ ซิลิกอน มักใช้ในการตรวจเช็คในส่วนของโรคหัวใจและหลอดเลือด เป็นต้น

- Self-Healing Flexible Sensors

เซ็นเซอร์อัจฉริยะ ที่วัสดุมีความคงทน มีอายุการใช้งานที่ยาวนาน เนื่องจากเซ็นเซอร์อัจฉริยะมีโอกาสเป็นรอยขีดข่วน หรือ เกิดความเสียหายต่อการใช้งานระหว่างทำงาน ซึ่งจะทำให้ประสิทธิภาพลดลง ดังนั้น วัสดุที่ใช้สร้างเซ็นเซอร์อัจฉริยะต้องมีฟังก์ชั่นการทำงานหลากหลายสามารถฟื้นตัวได้รวดเร็ว หรือทนทานต่อความเสียที่เกิดจากผู้ใช้งาน วัสดุดังกว่าวรู้จักในอีกชื่อว่า self-healing polymers คือ โพลีเมอร์ที่มีคุณสมบัติในการรักษา หรือยืดหยุ่นตัวเองได้ อาจทำจากสารประกอบของยาง เช่น ไมโครนิกเกลผสมกับโพลีเมอร์อื่นๆ เป็นต้น

รูปแบบการใช้งานไบโอเซ็นเซอร์อัจฉริยะ อุปกรณ์สวมใส่เพื่อการดูแลสุขภาพ

1. Biophysical Monitoring คือ การตรวจจับสัญญาณที่ได้จากร่างกายทางกายภาพ

- Heart Rate and Pulse Monitoring  การตรวจวัดอัตราการเต้นของหัวใจและชีพจร เช่น ค่า ECG ใช้ไบโอเซ็นเซอร์อัจฉริยะที่ทำมาจากสารประกอบ คาร์บอนนาโนทูปและโพลีไกเมทิลไซโลเซน (nanotube (CNT)-polydimethylsiloxane (PDMS)) เป็นต้น

- Human Motion Monitoring  การตรวจวัดการเคลื่อนไหวของมนุษย์โดยการวิเคราะห์จาก รูปแบบการเคลื่อนไหวเพื่อป้องกันการเกิดโรคต่างๆ เช่น เนื้องอก หรืออัลไซเมอร์

- Temperature Monitoring  การตรวจวัดอุณหภูมิเพื่อค้นหาความผิดปกติของร่างกาย

2. Biochemical Tracking คือ การติดตามสถานะต่างๆทางชีวเคมี

- Blood Glucose Recording การบันทึกกลูโคสในกระแสเลือด เช่น การเกิดโรคเบาหวาน

- Biomolecule Recording การบันทึกค่าชีวโมเลกุล เพื่อวิเคราะห์และตรวจจับแนวโน้มการเกิดโรคมะเร็ง

- pH Recording  การบันทึกค่า pH ความเป็นกรดด่าง

3. Real-Time Detection of Environmental Information คือ การตรวจจับวัดค่าข้อมูลสิ่งแวดล้อมแบบเรียลไทม์ เพื่อปกป้องร่างกายและสุขภาพในการตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อมรอบตัวเองได้ดียิ่งขึ้น

- Gas Detection  การตรวจจับก๊าซ

- Humidity Detection  การตรวจจับความชื้น