ระบบเซ็นเซอร์ที่ใช้สำหรับรถยนต์ขับเคลื่อนอัตโนมัติ

บทความนี้สำรวจบทบาทสำคัญของเซ็นเซอร์ในการพัฒนารถยนต์ขับเคลื่อนอัตโนมัติ

ระบบเซ็นเซอร์ที่ใช้สำหรับรถยนต์ขับเคลื่อนอัตโนมัติ

ในยุคปัจจุบันได้มีการพัฒนาอุตสาหกรรมยนต์ โดยมีทางเลือกให้ผู้บริโภคได้ใช้งานมากยิ่งขึ้น และหนึ่งในนวัตกรรมที่กำลังถูกพูดถึงอย่างต่อเนื่อง คือ รถยนต์ไร้คนขับ หรือรถยนต์ขับเคลื่อนอัตโนมัติ ที่สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและสามารถตอบสนองการแก้ปัญหาของมนุษย์ได้หลายประการ ทั้งในด้านขีดความสามารถในการขับขี่และช่วยเหลือผู้พิการได้อีกด้วย อย่างไรก็ตาม การใช้งานรถรถยนต์ขับเคลื่อนอัตโนมัตินั้นจะต้องมีระบบเซ็นเซอร์ (Sensors) ต่างๆ ที่ช่วยอำนวยความสะดวกและช่วยในการคำนวนและประมวลผลให้ระบบสามารถตัดสินใจต่อการขับเคลื่อนรถได้ ดังนั้นระบบเซ็นเซอร์เหล่านี้ต้องมีความสามารถที่หลากหลายในแต่ละหน้าที่ ในการทำให้รถยนต์สามารถขับเคลื่อนแบบไร้คนขับได้อย่างปลอดภัยและสร้างความเชื่อมั่นต่อผู้ใช้งานได้

ประเภทและหน้าที่ Sensors

อุปกรณ์เซ็นเซอร์แต่ละอุปกรณ์มีหน้าที่ที่แตกต่างกันอออกไปและมีความสำคัญมากต่อการตัดสินใจของระบบในการขับเคลื่อน ซึ่งสามารถแบ่งออกได้ 2 ประเภท คือ

1. Exteroceptive sensors อุปกรณ์เซ็นเซอร์ที่ได้รับการตอบสนองจากข้อมูลภายนอกระบบ

2. Proprioceptive sensors อุปกรณ์เซ็นเซอร์ที่รับการตอบสนองจากข้อมูลภายในระบบ

อุปกรณ์ที่ใช้ในการรับรู้สภาพแวดล้อจากภายนอก (Exteroceptive sensors)

เซ็นเซอร์ในส่วนของการรับค่าต่างๆ ที่มาจากสภาพแวดล้อมภายนอกแล้วนำค่าและข้อมูลที่ได้เหล่านั้นมาคำนวณหาระยะทาง ประกอบไปด้วย

LIDAR (Light Detection and Ranging) เป็นอุปกรณ์ที่มีความสามารถและเทคโนโลยีในการใช้วัดระยะทาง โดยใช้หลักการพื้นฐานของคำนวณระยะจากการเดินทาง เช่น TOF หรือ Time of Flight โดยการส่งเลเซอร์ พัลส์ (Pulse) ไปถึงวัตถุที่ต้องการแล้วรับพัลส์ที่สะท้อนนั้นกลับมา แล้วคำนวณ เวลาที่ใช้ไป ซึ่งเทคโนโลยี LIDAR นี้ สามารถนำมาสร้างเป็นภาพ 3D ได้ พร้อมกับสภาพแวดล้อมโดยรอบ เพราเนื่องจาก LIDAR นั้นใช้ความถี่ที่ต่ำ ประมาณ 150 kHz จึงจัดอยู่ในเซ็นเซอร์ที่สามารถวัดระยะได้ไกล (Long Range Sensor)  ปัจจุบันมีการพัฒนาได้ทั้ง LIDAR แบบ Solid State และ Infrared

Radar (Radio Detection and Ranging) เรดาร์นี้เป็นอีกเทคโนโลยีที่ใช้คลื่นวิทยุในการวัดระยะทาง มุม และความเร็วของวัตถุ ซึ่งมีใช้ในอุตสาหกรรมที่หลากหลาย โดยหลักการพื้นฐานคือใช้การแพร่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (Electromagnetic Wave) ในหลายย่านความถี่ อาทิ เช่น 24 GHz, 77 GHz, 79 GHz เป็นต้น โดยมีคุณลักษณะคือ ความถี่ที่สูงจะให้ความละเอียดสูงซึ่งทำให้สามารถแยกและระบุชนิดของวัตถุที่อยู่รวมกันได้ เรดาร์นั้นค่อนข้างมีข้อได้เปรียบเมื่อเปรียบเทียบกับ LIDAR เพราะเรดาร์นั้นมีความแข็งแรงคงทนต่อสภาวะแวดล้อมและภูมิอากาศได้ดี อีกทั้งราคาถูกกว่า และมีความพร้อมในการใช้งานได้มากกว่าอีกด้วย โดยทั่วไป ปัจจุบันการใช้งานเรดาร์นั้นจะถูกใช้งานกับรถในยุคปัจจุบันที่มีระบบช่วยเหลือการขับขี่ หรือ ADAS Systems   (Advanced Driver Assistance Systems) ที่ถูกออกแบบใน Cruise Control ในการป้องกันการชนกัน รวมถึงการเคลื่อนไหวของวัตถุที่อยู่รอบๆ

กล้อง Camera  ใช้หลักการของการรับแสง (Passive Light Sensors) ในการสร้างภาพดิจิตอล ซึ่งในความสามารถเหล่านั้น มีจุดประสงค์ในการจับภาพการเคลื่อนไหวและภาพที่หยุดนิ่งของวัตถุ ข้อได้เปรียบตรงนี้คือการได้เห็นภาพที่เป็นภาพสีและลักษณะทางกายภาพ แต่ในทางตรงกันข้ามมีข้อเสียอย่างเด่นชัดคือปริมาณของแสงต้องมีเพียงพอ ตลอดจนสภาพวะอากาศที่มีผลต่อความเข้มของแสงและการได้มาซึ่งภาพดิจิตอล

Ultrasonic การใช้คลื่นเสียงในการคำนวณหาระยะทางจากวัตถุ โดยส่งคลื่นเสียงออกไปกระทบวัตถุและสะท้อนกลับมาพร้อมเวลาเพื่อคำนวนหาระยะทางต่อไป ข้อได้เปรียบของเซ็นเซอร์นี้คือราคาถูกที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับเซ็นเซอร์อื่นๆ ข้อเสียคือการรบกวนกันของเสียงจากแหล่งกำเนิดเสียงอื่นๆในสภาพแวดล้อมต่างๆ

อุปกรณ์ที่รับรู้การตอบสนองจากภายในระบบ(Proprioceptive sensors)

เซ็นเซอร์เหล่านี้จะเป็นเซ็นเซอร์ที่ได้รับอาการหรือค่าต่างๆที่สำคัญจากตัวของรถเองหรือจากภายในของระบบ เช่น การเคลื่อนไหวของรถในทิศทางต่างๆ  มุมหัน หรือตำแหน่งของรถที่เคลื่อนที่ ประกอบไปด้วย 3 เซ็นเซอร์ คือ

IMU (Inertial Movement Unit) เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่มี 3 แกน X Y Z ในการวัดความเร่งและการทรงตัวต่างๆ อีกทั้งยังมีไยโร (Gyroscope) ในการประคับประคองการทรงตัวและการเคลื่อนที่แบบ (Guidance) อีกด้วย ซึ่งข้อมูลดิบที่ได้จะเป็น ความเร็ว ความสูง มุมในการหัน

GPS (Global Positioning Systems) โดยใช้หลักการของสัญญาณที่ได้รับจาก Receiver ที่ประกอบไปด้วยเวลา ที่สัญญาณถูกส่งมากจากดาวเทียมแล้วใช้การคำนวนในลักษณะ การตัดกันของตำแหน่งในสามพิกัด (Trilateration Method) เพื่อหาตำแหน่งที่ชัดเจน

Encoders เป็นอุปกรณ์ลักษณะ Electro -Mechanical ซึ่งเปลี่ยนค่าตำแหน่งมุมของเพลาเป็นสัญญาอนาล็อกหรือดิจิตอล เพื่อให้การเกิดการส่งถ่ายหรือสั่งข้อมูลอื่นๆ ต่อไปในระบบควบคุม โดยทั่วไป Encoder ถูกใช้ในการให้ข้อมูลของการวัดระยะทางรถยนต์

การที่จะใช้งานรถยนต์ขับเคลื่อนอัตโนมัติได้อย่างมีประสิทธิภาพนั้น ต้องมีการนำเอาทั้ง 2 เซ็นเซอร์มาประกอบกันเพื่อให้สามารถแสดงข้อมูลได้อย่างละเอียดและถูกต้องมากยิ่งขึ้น หรือที่เรียกว่า Sensor Fusion Techniques ยกตัวอย่างเช่น การนำเอาข้อมูลของทั้ง GPS-IMU มาประกอบกัน เพื่อหาตำแหน่งของวัตถุโดยใช้ GPS และ IMU ในการทำนายและสร้างโมเดลสำหรับการเคลื่อนที่และการป้องกันการชนกันได้ รวมทั้งความน่าจะเป็นที่จะเกิดขึ้น จนได้ข้อมูลที่ละเอียดที่สุด เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีเทคนิคอื่นๆ เช่น การใช้ข้อมูลระหว่าง Vision-LIDAR /Radar, Vision- LIDAR, RSSI-IMU และอื่นๆ

ระบบเซ็นเซอร์ที่ใช้สำหรับรถยนต์ขับเคลื่อนอัตโนมัติ

บทความนี้สำรวจบทบาทสำคัญของเซ็นเซอร์ในการพัฒนารถยนต์ขับเคลื่อนอัตโนมัติ

นักเขียนบทความ
by 
นักเขียนบทความ
ระบบเซ็นเซอร์ที่ใช้สำหรับรถยนต์ขับเคลื่อนอัตโนมัติ

ระบบเซ็นเซอร์ที่ใช้สำหรับรถยนต์ขับเคลื่อนอัตโนมัติ

บทความนี้สำรวจบทบาทสำคัญของเซ็นเซอร์ในการพัฒนารถยนต์ขับเคลื่อนอัตโนมัติ

ในยุคปัจจุบันได้มีการพัฒนาอุตสาหกรรมยนต์ โดยมีทางเลือกให้ผู้บริโภคได้ใช้งานมากยิ่งขึ้น และหนึ่งในนวัตกรรมที่กำลังถูกพูดถึงอย่างต่อเนื่อง คือ รถยนต์ไร้คนขับ หรือรถยนต์ขับเคลื่อนอัตโนมัติ ที่สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและสามารถตอบสนองการแก้ปัญหาของมนุษย์ได้หลายประการ ทั้งในด้านขีดความสามารถในการขับขี่และช่วยเหลือผู้พิการได้อีกด้วย อย่างไรก็ตาม การใช้งานรถรถยนต์ขับเคลื่อนอัตโนมัตินั้นจะต้องมีระบบเซ็นเซอร์ (Sensors) ต่างๆ ที่ช่วยอำนวยความสะดวกและช่วยในการคำนวนและประมวลผลให้ระบบสามารถตัดสินใจต่อการขับเคลื่อนรถได้ ดังนั้นระบบเซ็นเซอร์เหล่านี้ต้องมีความสามารถที่หลากหลายในแต่ละหน้าที่ ในการทำให้รถยนต์สามารถขับเคลื่อนแบบไร้คนขับได้อย่างปลอดภัยและสร้างความเชื่อมั่นต่อผู้ใช้งานได้

ประเภทและหน้าที่ Sensors

อุปกรณ์เซ็นเซอร์แต่ละอุปกรณ์มีหน้าที่ที่แตกต่างกันอออกไปและมีความสำคัญมากต่อการตัดสินใจของระบบในการขับเคลื่อน ซึ่งสามารถแบ่งออกได้ 2 ประเภท คือ

1. Exteroceptive sensors อุปกรณ์เซ็นเซอร์ที่ได้รับการตอบสนองจากข้อมูลภายนอกระบบ

2. Proprioceptive sensors อุปกรณ์เซ็นเซอร์ที่รับการตอบสนองจากข้อมูลภายในระบบ

อุปกรณ์ที่ใช้ในการรับรู้สภาพแวดล้อจากภายนอก (Exteroceptive sensors)

เซ็นเซอร์ในส่วนของการรับค่าต่างๆ ที่มาจากสภาพแวดล้อมภายนอกแล้วนำค่าและข้อมูลที่ได้เหล่านั้นมาคำนวณหาระยะทาง ประกอบไปด้วย

LIDAR (Light Detection and Ranging) เป็นอุปกรณ์ที่มีความสามารถและเทคโนโลยีในการใช้วัดระยะทาง โดยใช้หลักการพื้นฐานของคำนวณระยะจากการเดินทาง เช่น TOF หรือ Time of Flight โดยการส่งเลเซอร์ พัลส์ (Pulse) ไปถึงวัตถุที่ต้องการแล้วรับพัลส์ที่สะท้อนนั้นกลับมา แล้วคำนวณ เวลาที่ใช้ไป ซึ่งเทคโนโลยี LIDAR นี้ สามารถนำมาสร้างเป็นภาพ 3D ได้ พร้อมกับสภาพแวดล้อมโดยรอบ เพราเนื่องจาก LIDAR นั้นใช้ความถี่ที่ต่ำ ประมาณ 150 kHz จึงจัดอยู่ในเซ็นเซอร์ที่สามารถวัดระยะได้ไกล (Long Range Sensor)  ปัจจุบันมีการพัฒนาได้ทั้ง LIDAR แบบ Solid State และ Infrared

Radar (Radio Detection and Ranging) เรดาร์นี้เป็นอีกเทคโนโลยีที่ใช้คลื่นวิทยุในการวัดระยะทาง มุม และความเร็วของวัตถุ ซึ่งมีใช้ในอุตสาหกรรมที่หลากหลาย โดยหลักการพื้นฐานคือใช้การแพร่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (Electromagnetic Wave) ในหลายย่านความถี่ อาทิ เช่น 24 GHz, 77 GHz, 79 GHz เป็นต้น โดยมีคุณลักษณะคือ ความถี่ที่สูงจะให้ความละเอียดสูงซึ่งทำให้สามารถแยกและระบุชนิดของวัตถุที่อยู่รวมกันได้ เรดาร์นั้นค่อนข้างมีข้อได้เปรียบเมื่อเปรียบเทียบกับ LIDAR เพราะเรดาร์นั้นมีความแข็งแรงคงทนต่อสภาวะแวดล้อมและภูมิอากาศได้ดี อีกทั้งราคาถูกกว่า และมีความพร้อมในการใช้งานได้มากกว่าอีกด้วย โดยทั่วไป ปัจจุบันการใช้งานเรดาร์นั้นจะถูกใช้งานกับรถในยุคปัจจุบันที่มีระบบช่วยเหลือการขับขี่ หรือ ADAS Systems   (Advanced Driver Assistance Systems) ที่ถูกออกแบบใน Cruise Control ในการป้องกันการชนกัน รวมถึงการเคลื่อนไหวของวัตถุที่อยู่รอบๆ

กล้อง Camera  ใช้หลักการของการรับแสง (Passive Light Sensors) ในการสร้างภาพดิจิตอล ซึ่งในความสามารถเหล่านั้น มีจุดประสงค์ในการจับภาพการเคลื่อนไหวและภาพที่หยุดนิ่งของวัตถุ ข้อได้เปรียบตรงนี้คือการได้เห็นภาพที่เป็นภาพสีและลักษณะทางกายภาพ แต่ในทางตรงกันข้ามมีข้อเสียอย่างเด่นชัดคือปริมาณของแสงต้องมีเพียงพอ ตลอดจนสภาพวะอากาศที่มีผลต่อความเข้มของแสงและการได้มาซึ่งภาพดิจิตอล

Ultrasonic การใช้คลื่นเสียงในการคำนวณหาระยะทางจากวัตถุ โดยส่งคลื่นเสียงออกไปกระทบวัตถุและสะท้อนกลับมาพร้อมเวลาเพื่อคำนวนหาระยะทางต่อไป ข้อได้เปรียบของเซ็นเซอร์นี้คือราคาถูกที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับเซ็นเซอร์อื่นๆ ข้อเสียคือการรบกวนกันของเสียงจากแหล่งกำเนิดเสียงอื่นๆในสภาพแวดล้อมต่างๆ

อุปกรณ์ที่รับรู้การตอบสนองจากภายในระบบ(Proprioceptive sensors)

เซ็นเซอร์เหล่านี้จะเป็นเซ็นเซอร์ที่ได้รับอาการหรือค่าต่างๆที่สำคัญจากตัวของรถเองหรือจากภายในของระบบ เช่น การเคลื่อนไหวของรถในทิศทางต่างๆ  มุมหัน หรือตำแหน่งของรถที่เคลื่อนที่ ประกอบไปด้วย 3 เซ็นเซอร์ คือ

IMU (Inertial Movement Unit) เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่มี 3 แกน X Y Z ในการวัดความเร่งและการทรงตัวต่างๆ อีกทั้งยังมีไยโร (Gyroscope) ในการประคับประคองการทรงตัวและการเคลื่อนที่แบบ (Guidance) อีกด้วย ซึ่งข้อมูลดิบที่ได้จะเป็น ความเร็ว ความสูง มุมในการหัน

GPS (Global Positioning Systems) โดยใช้หลักการของสัญญาณที่ได้รับจาก Receiver ที่ประกอบไปด้วยเวลา ที่สัญญาณถูกส่งมากจากดาวเทียมแล้วใช้การคำนวนในลักษณะ การตัดกันของตำแหน่งในสามพิกัด (Trilateration Method) เพื่อหาตำแหน่งที่ชัดเจน

Encoders เป็นอุปกรณ์ลักษณะ Electro -Mechanical ซึ่งเปลี่ยนค่าตำแหน่งมุมของเพลาเป็นสัญญาอนาล็อกหรือดิจิตอล เพื่อให้การเกิดการส่งถ่ายหรือสั่งข้อมูลอื่นๆ ต่อไปในระบบควบคุม โดยทั่วไป Encoder ถูกใช้ในการให้ข้อมูลของการวัดระยะทางรถยนต์

การที่จะใช้งานรถยนต์ขับเคลื่อนอัตโนมัติได้อย่างมีประสิทธิภาพนั้น ต้องมีการนำเอาทั้ง 2 เซ็นเซอร์มาประกอบกันเพื่อให้สามารถแสดงข้อมูลได้อย่างละเอียดและถูกต้องมากยิ่งขึ้น หรือที่เรียกว่า Sensor Fusion Techniques ยกตัวอย่างเช่น การนำเอาข้อมูลของทั้ง GPS-IMU มาประกอบกัน เพื่อหาตำแหน่งของวัตถุโดยใช้ GPS และ IMU ในการทำนายและสร้างโมเดลสำหรับการเคลื่อนที่และการป้องกันการชนกันได้ รวมทั้งความน่าจะเป็นที่จะเกิดขึ้น จนได้ข้อมูลที่ละเอียดที่สุด เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีเทคนิคอื่นๆ เช่น การใช้ข้อมูลระหว่าง Vision-LIDAR /Radar, Vision- LIDAR, RSSI-IMU และอื่นๆ

Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipiscing elit. Suspendisse varius enim in eros elementum tristique. Duis cursus, mi quis viverra ornare, eros dolor interdum nulla, ut commodo diam libero vitae erat. Aenean faucibus nibh et justo cursus id rutrum lorem imperdiet. Nunc ut sem vitae risus tristique posuere.

ระบบเซ็นเซอร์ที่ใช้สำหรับรถยนต์ขับเคลื่อนอัตโนมัติ

ระบบเซ็นเซอร์ที่ใช้สำหรับรถยนต์ขับเคลื่อนอัตโนมัติ

บทความนี้สำรวจบทบาทสำคัญของเซ็นเซอร์ในการพัฒนารถยนต์ขับเคลื่อนอัตโนมัติ

Lorem ipsum dolor amet consectetur adipiscing elit tortor massa arcu non.

ในยุคปัจจุบันได้มีการพัฒนาอุตสาหกรรมยนต์ โดยมีทางเลือกให้ผู้บริโภคได้ใช้งานมากยิ่งขึ้น และหนึ่งในนวัตกรรมที่กำลังถูกพูดถึงอย่างต่อเนื่อง คือ รถยนต์ไร้คนขับ หรือรถยนต์ขับเคลื่อนอัตโนมัติ ที่สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและสามารถตอบสนองการแก้ปัญหาของมนุษย์ได้หลายประการ ทั้งในด้านขีดความสามารถในการขับขี่และช่วยเหลือผู้พิการได้อีกด้วย อย่างไรก็ตาม การใช้งานรถรถยนต์ขับเคลื่อนอัตโนมัตินั้นจะต้องมีระบบเซ็นเซอร์ (Sensors) ต่างๆ ที่ช่วยอำนวยความสะดวกและช่วยในการคำนวนและประมวลผลให้ระบบสามารถตัดสินใจต่อการขับเคลื่อนรถได้ ดังนั้นระบบเซ็นเซอร์เหล่านี้ต้องมีความสามารถที่หลากหลายในแต่ละหน้าที่ ในการทำให้รถยนต์สามารถขับเคลื่อนแบบไร้คนขับได้อย่างปลอดภัยและสร้างความเชื่อมั่นต่อผู้ใช้งานได้

ประเภทและหน้าที่ Sensors

อุปกรณ์เซ็นเซอร์แต่ละอุปกรณ์มีหน้าที่ที่แตกต่างกันอออกไปและมีความสำคัญมากต่อการตัดสินใจของระบบในการขับเคลื่อน ซึ่งสามารถแบ่งออกได้ 2 ประเภท คือ

1. Exteroceptive sensors อุปกรณ์เซ็นเซอร์ที่ได้รับการตอบสนองจากข้อมูลภายนอกระบบ

2. Proprioceptive sensors อุปกรณ์เซ็นเซอร์ที่รับการตอบสนองจากข้อมูลภายในระบบ

อุปกรณ์ที่ใช้ในการรับรู้สภาพแวดล้อจากภายนอก (Exteroceptive sensors)

เซ็นเซอร์ในส่วนของการรับค่าต่างๆ ที่มาจากสภาพแวดล้อมภายนอกแล้วนำค่าและข้อมูลที่ได้เหล่านั้นมาคำนวณหาระยะทาง ประกอบไปด้วย

LIDAR (Light Detection and Ranging) เป็นอุปกรณ์ที่มีความสามารถและเทคโนโลยีในการใช้วัดระยะทาง โดยใช้หลักการพื้นฐานของคำนวณระยะจากการเดินทาง เช่น TOF หรือ Time of Flight โดยการส่งเลเซอร์ พัลส์ (Pulse) ไปถึงวัตถุที่ต้องการแล้วรับพัลส์ที่สะท้อนนั้นกลับมา แล้วคำนวณ เวลาที่ใช้ไป ซึ่งเทคโนโลยี LIDAR นี้ สามารถนำมาสร้างเป็นภาพ 3D ได้ พร้อมกับสภาพแวดล้อมโดยรอบ เพราเนื่องจาก LIDAR นั้นใช้ความถี่ที่ต่ำ ประมาณ 150 kHz จึงจัดอยู่ในเซ็นเซอร์ที่สามารถวัดระยะได้ไกล (Long Range Sensor)  ปัจจุบันมีการพัฒนาได้ทั้ง LIDAR แบบ Solid State และ Infrared

Radar (Radio Detection and Ranging) เรดาร์นี้เป็นอีกเทคโนโลยีที่ใช้คลื่นวิทยุในการวัดระยะทาง มุม และความเร็วของวัตถุ ซึ่งมีใช้ในอุตสาหกรรมที่หลากหลาย โดยหลักการพื้นฐานคือใช้การแพร่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (Electromagnetic Wave) ในหลายย่านความถี่ อาทิ เช่น 24 GHz, 77 GHz, 79 GHz เป็นต้น โดยมีคุณลักษณะคือ ความถี่ที่สูงจะให้ความละเอียดสูงซึ่งทำให้สามารถแยกและระบุชนิดของวัตถุที่อยู่รวมกันได้ เรดาร์นั้นค่อนข้างมีข้อได้เปรียบเมื่อเปรียบเทียบกับ LIDAR เพราะเรดาร์นั้นมีความแข็งแรงคงทนต่อสภาวะแวดล้อมและภูมิอากาศได้ดี อีกทั้งราคาถูกกว่า และมีความพร้อมในการใช้งานได้มากกว่าอีกด้วย โดยทั่วไป ปัจจุบันการใช้งานเรดาร์นั้นจะถูกใช้งานกับรถในยุคปัจจุบันที่มีระบบช่วยเหลือการขับขี่ หรือ ADAS Systems   (Advanced Driver Assistance Systems) ที่ถูกออกแบบใน Cruise Control ในการป้องกันการชนกัน รวมถึงการเคลื่อนไหวของวัตถุที่อยู่รอบๆ

กล้อง Camera  ใช้หลักการของการรับแสง (Passive Light Sensors) ในการสร้างภาพดิจิตอล ซึ่งในความสามารถเหล่านั้น มีจุดประสงค์ในการจับภาพการเคลื่อนไหวและภาพที่หยุดนิ่งของวัตถุ ข้อได้เปรียบตรงนี้คือการได้เห็นภาพที่เป็นภาพสีและลักษณะทางกายภาพ แต่ในทางตรงกันข้ามมีข้อเสียอย่างเด่นชัดคือปริมาณของแสงต้องมีเพียงพอ ตลอดจนสภาพวะอากาศที่มีผลต่อความเข้มของแสงและการได้มาซึ่งภาพดิจิตอล

Ultrasonic การใช้คลื่นเสียงในการคำนวณหาระยะทางจากวัตถุ โดยส่งคลื่นเสียงออกไปกระทบวัตถุและสะท้อนกลับมาพร้อมเวลาเพื่อคำนวนหาระยะทางต่อไป ข้อได้เปรียบของเซ็นเซอร์นี้คือราคาถูกที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับเซ็นเซอร์อื่นๆ ข้อเสียคือการรบกวนกันของเสียงจากแหล่งกำเนิดเสียงอื่นๆในสภาพแวดล้อมต่างๆ

อุปกรณ์ที่รับรู้การตอบสนองจากภายในระบบ(Proprioceptive sensors)

เซ็นเซอร์เหล่านี้จะเป็นเซ็นเซอร์ที่ได้รับอาการหรือค่าต่างๆที่สำคัญจากตัวของรถเองหรือจากภายในของระบบ เช่น การเคลื่อนไหวของรถในทิศทางต่างๆ  มุมหัน หรือตำแหน่งของรถที่เคลื่อนที่ ประกอบไปด้วย 3 เซ็นเซอร์ คือ

IMU (Inertial Movement Unit) เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่มี 3 แกน X Y Z ในการวัดความเร่งและการทรงตัวต่างๆ อีกทั้งยังมีไยโร (Gyroscope) ในการประคับประคองการทรงตัวและการเคลื่อนที่แบบ (Guidance) อีกด้วย ซึ่งข้อมูลดิบที่ได้จะเป็น ความเร็ว ความสูง มุมในการหัน

GPS (Global Positioning Systems) โดยใช้หลักการของสัญญาณที่ได้รับจาก Receiver ที่ประกอบไปด้วยเวลา ที่สัญญาณถูกส่งมากจากดาวเทียมแล้วใช้การคำนวนในลักษณะ การตัดกันของตำแหน่งในสามพิกัด (Trilateration Method) เพื่อหาตำแหน่งที่ชัดเจน

Encoders เป็นอุปกรณ์ลักษณะ Electro -Mechanical ซึ่งเปลี่ยนค่าตำแหน่งมุมของเพลาเป็นสัญญาอนาล็อกหรือดิจิตอล เพื่อให้การเกิดการส่งถ่ายหรือสั่งข้อมูลอื่นๆ ต่อไปในระบบควบคุม โดยทั่วไป Encoder ถูกใช้ในการให้ข้อมูลของการวัดระยะทางรถยนต์

การที่จะใช้งานรถยนต์ขับเคลื่อนอัตโนมัติได้อย่างมีประสิทธิภาพนั้น ต้องมีการนำเอาทั้ง 2 เซ็นเซอร์มาประกอบกันเพื่อให้สามารถแสดงข้อมูลได้อย่างละเอียดและถูกต้องมากยิ่งขึ้น หรือที่เรียกว่า Sensor Fusion Techniques ยกตัวอย่างเช่น การนำเอาข้อมูลของทั้ง GPS-IMU มาประกอบกัน เพื่อหาตำแหน่งของวัตถุโดยใช้ GPS และ IMU ในการทำนายและสร้างโมเดลสำหรับการเคลื่อนที่และการป้องกันการชนกันได้ รวมทั้งความน่าจะเป็นที่จะเกิดขึ้น จนได้ข้อมูลที่ละเอียดที่สุด เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีเทคนิคอื่นๆ เช่น การใช้ข้อมูลระหว่าง Vision-LIDAR /Radar, Vision- LIDAR, RSSI-IMU และอื่นๆ