มาตรฐานการทดสอบด้านสิ่งแวดล้อม: ISO 16750, MIL-STD-810 และอื่นๆ

บทความนี้กล่าวถึงการทดสอบด้านสิ่งแวดล้อมเพื่อรับรองความทนทานของผลิตภัณฑ์ในอุตสาหกรรมต่างๆ พร้อมแนะนำมาตรฐานที่ใช้ทั่วไป เช่น ISO 16750 และ MIL-STD-810

มาตรฐานการทดสอบด้านสิ่งแวดล้อม: ISO 16750, MIL-STD-810 และอื่นๆ

การทดสอบด้านสิ่งแวดล้อมเป็นขั้นตอนสำคัญในการรับรองความน่าเชื่อถือ และความทนทานของผลิตภัณฑ์ในอุตสาหกรรมต่างๆ ตั้งแต่อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ที่ใช้งานทั่วไป จนถึงอุตสาหกรรมการบินและอวกาศ และการป้องกันประเทศ ผู้ผลิตต้องทดสอบผลิตภัณฑ์อย่างเข้มงวดเพื่อให้มั่นใจว่า ผลิตภัณฑ์สามารถทนต่อความท้าทายในสภาพแวดล้อมจริงได้ ดังนั้นการหารือเกี่ยวกับรายละเอียดของมาตรฐานการทดสอบด้านสิ่งแวดล้อมที่ใช้กันอย่างแพร่หลายและเป็นที่ยอมรับมากที่สุดเช่น มาตรฐาน ISO 16750  MIL-STD-810 และอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องต่อการประยุกต์ใช้งานในปัจจุบัน จึงสำคัญเป็นอย่างยิ่ง

ISO 16750: การทดสอบสิ่งแวดล้อมสำหรับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ยานยนต์

ISO 16750 เป็นมาตรฐานที่เกี่ยวกับข้อกำหนดการทดสอบด้านสิ่งแวดล้อม สำหรับระบบไฟฟ้า และอิเล็กทรอนิกส์ในยานพาหนะบนท้องถนน มาตรฐานนี้ใช้สำหรับรับรองว่า ส่วนประกอบของยานยนต์ทำงานได้อย่างน่าเชื่อถือภายใต้เงื่อนไขในการปฏิบัติจริงเช่น ความผันผวนของอุณหภูมิ การสั่นสะเทือน และสารเคมีมาตรฐานนี้ประกอบไปด้วย 5 ส่วน แต่ละส่วนจะกล่าวถึงประเด็นของการทดสอบสิ่งแวดล้อมดังนี้

ส่วนที่ 1: ทั่วไป

- ภาพรวมของมาตรฐาน และขอบเขต

- ข้อกำหนด และการจำแนกประเภทการทดสอบทั่วไป

ส่วนที่ 2: โหลดไฟฟ้าหรือประจุไฟฟ้า

- การทดสอบความแปรผันของแรงดันไฟฟ้า แรงดันไฟฟ้าสูงเกินไป แรงดันไฟฟ้าต่ำกว่าข้อ   กำหนด และการกระชากของกระแสไฟฟ้า

ส่วนที่ 3: โหลดทางกล

- ประเมินแรงเสียดทานของส่วนประกอบต่อการสั่นสะเทือน แรงกระแทก และความล้าทางกล รวมถึงการทดสอบการตก การประเมินความเครียดและแรงตึงจากการติดตั้ง

ส่วนที่ 4: โหลดตามสภาพภูมิอากาศ

- การทดสอบประสิทธิภาพภายใต้สภาวะอุณหภูมิที่สูง ความชื้น การเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิ และความต้านทานต่อละอองความเค็ม หรือเกลือ กับละอองน้ำ

ส่วนที่ 5: โหลดทางเคมี

- ตรวจสอบความต้านทานต่อสารเคมีในยานยนต์เช่น เชื้อเพลิง น้ำมัน และสารทำความสะอาด

การนำ ISO 16750 ไปใช้

ISO 16750 มีความสำคัญต่อซัพพลายเออร์และผู้ผลิตยานยนต์ โดยการยึดมั่นตามมาตรฐานนี้ บริษัทต่างๆ สามารถมั่นใจได้ว่า ส่วนประกอบต่างๆ ของตนเป็นไปตามข้อกำหนดด้านความน่าเชื่อถือ และความปลอดภัยที่เข้มงวดของอุตสาหกรรมยานยนต์ ตัวอย่างเช่น การทดสอบกล่องควบคุมสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ (ECU) เซ็นเซอร์ และระบบอินโฟเทนเมนต์ เป็นต้น

MIL-STD-810: มาตรฐานทางทหารสำหรับการทดสอบด้านสิ่งแวดล้อม

MIL-STD-810 คือ มาตรฐานทางทหารของสหรัฐอเมริกาที่กำหนดให้มีการทดสอบด้านสิ่งแวดล้อม สำหรับอุปกรณ์ทางทหาร โดยรับรองว่า อุปกรณ์สามารถทนต่อสภาวะที่รุนแรซึ่งพบระหว่าง ปฏิบัติการทางทหาร เช่น อุณหภูมิที่รุนแรง พายุทราย และ แรงสั่นสะเทือนในสนามรบ เป็นต้น

การทดสอบที่สำคัญใน MIL-STD-810

MIL-STD-810 ประกอบด้วยการทดสอบสิ่งแวดล้อม 29 รายการ โดยรายการที่สำคัญที่สุด ได้แก่:

-การทดสอบอุณหภูมิ ประกอบด้วยการทดสอบอุณหภูมิสูง อุณหภูมิต่ำ และแรงช็อคที่ก่อให้เกิดความร้อน

รวมถึงการประเมินประสิทธิภาพในสภาพอากาศที่รุนแรงและการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิอย่างรวดเร็ว

การทดสอบการสั่นสะเทือน

ประเมินความต้านทานต่อการสั่นสะเทือนอย่างต่อเนื่องจากยานพาหนะ เครื่องบิน และเครื่องจักร

การทดสอบแรงกระแทกและการตก

จำลองแรงกระแทกจากการตก โดยไม่ได้ตั้งใจ หรือแรงระเบิด

การทดสอบความชื้น

ทดสอบการกัดกร่อนและประสิทธิภาพทางไฟฟ้าในสภาวะแวดล้อมที่มีความชื้น

การทดสอบหมอกเกลือ

ประเมินความต้านทานต่อการกัดกร่อนที่เกิดจากเกลือ โดยเฉพาะอย่างยิ่งสำหรับการใช้งานในกองทัพเรือ และใกล้ชายฝั่ง

การทดสอบทรายและฝุ่น

จำลองการสัมผัสกับอนุภาคที่มีฤทธิ์กัดกร่อนในสภาพแวดล้อมแบบทะเลทราย

การใช้งาน MIL-STD-810

MIL-STD-810 ใช้โดยผู้ที่ได้รับการรับรองการผลิตอุปกรณ์ด้านอุตสาหกรรม ด้านการป้องกันประเทศ ผู้ผลิตอากาศยาน และผู้พัฒนาอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์  ซึ่งสามารถนำไปใช้กับผลิตภัณฑ์เช่น วิทยุ ระบบนำทาง อาวุธยุทโธปกรณ์ ตลอดจนอุตสาหกรรมพลเรือนอย่างโทรคมนาคมและการขนส่ง เพื่อเพิ่มความทนทานให้ผลิตภัณฑ์

นอกจากนี้ยังมีมาตรฐานอื่นๆ ได้แก่  IEC 60068 สำหรับทดสอบด้านสิ่งแวดล้อม หรือ RTCA DO-160 เกี่ยวกับเงื่อนไขด้านสิ่งแวดล้อม และขั้นตอนการทดสอบสำหรับอุปกรณ์บนเครื่องบิน มาตรฐาน ASTM สำหรับการทดสอบวัสดุจากสมาคมในสหรัฐอเมริกา เป็นต้น

มาตรฐานการทดสอบด้านสิ่งแวดล้อม: ISO 16750, MIL-STD-810 และอื่นๆ

บทความนี้กล่าวถึงการทดสอบด้านสิ่งแวดล้อมเพื่อรับรองความทนทานของผลิตภัณฑ์ในอุตสาหกรรมต่างๆ พร้อมแนะนำมาตรฐานที่ใช้ทั่วไป เช่น ISO 16750 และ MIL-STD-810

นักเขียนบทความ
by 
นักเขียนบทความ
มาตรฐานการทดสอบด้านสิ่งแวดล้อม: ISO 16750, MIL-STD-810 และอื่นๆ

มาตรฐานการทดสอบด้านสิ่งแวดล้อม: ISO 16750, MIL-STD-810 และอื่นๆ

บทความนี้กล่าวถึงการทดสอบด้านสิ่งแวดล้อมเพื่อรับรองความทนทานของผลิตภัณฑ์ในอุตสาหกรรมต่างๆ พร้อมแนะนำมาตรฐานที่ใช้ทั่วไป เช่น ISO 16750 และ MIL-STD-810

การทดสอบด้านสิ่งแวดล้อมเป็นขั้นตอนสำคัญในการรับรองความน่าเชื่อถือ และความทนทานของผลิตภัณฑ์ในอุตสาหกรรมต่างๆ ตั้งแต่อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ที่ใช้งานทั่วไป จนถึงอุตสาหกรรมการบินและอวกาศ และการป้องกันประเทศ ผู้ผลิตต้องทดสอบผลิตภัณฑ์อย่างเข้มงวดเพื่อให้มั่นใจว่า ผลิตภัณฑ์สามารถทนต่อความท้าทายในสภาพแวดล้อมจริงได้ ดังนั้นการหารือเกี่ยวกับรายละเอียดของมาตรฐานการทดสอบด้านสิ่งแวดล้อมที่ใช้กันอย่างแพร่หลายและเป็นที่ยอมรับมากที่สุดเช่น มาตรฐาน ISO 16750  MIL-STD-810 และอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องต่อการประยุกต์ใช้งานในปัจจุบัน จึงสำคัญเป็นอย่างยิ่ง

ISO 16750: การทดสอบสิ่งแวดล้อมสำหรับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ยานยนต์

ISO 16750 เป็นมาตรฐานที่เกี่ยวกับข้อกำหนดการทดสอบด้านสิ่งแวดล้อม สำหรับระบบไฟฟ้า และอิเล็กทรอนิกส์ในยานพาหนะบนท้องถนน มาตรฐานนี้ใช้สำหรับรับรองว่า ส่วนประกอบของยานยนต์ทำงานได้อย่างน่าเชื่อถือภายใต้เงื่อนไขในการปฏิบัติจริงเช่น ความผันผวนของอุณหภูมิ การสั่นสะเทือน และสารเคมีมาตรฐานนี้ประกอบไปด้วย 5 ส่วน แต่ละส่วนจะกล่าวถึงประเด็นของการทดสอบสิ่งแวดล้อมดังนี้

ส่วนที่ 1: ทั่วไป

- ภาพรวมของมาตรฐาน และขอบเขต

- ข้อกำหนด และการจำแนกประเภทการทดสอบทั่วไป

ส่วนที่ 2: โหลดไฟฟ้าหรือประจุไฟฟ้า

- การทดสอบความแปรผันของแรงดันไฟฟ้า แรงดันไฟฟ้าสูงเกินไป แรงดันไฟฟ้าต่ำกว่าข้อ   กำหนด และการกระชากของกระแสไฟฟ้า

ส่วนที่ 3: โหลดทางกล

- ประเมินแรงเสียดทานของส่วนประกอบต่อการสั่นสะเทือน แรงกระแทก และความล้าทางกล รวมถึงการทดสอบการตก การประเมินความเครียดและแรงตึงจากการติดตั้ง

ส่วนที่ 4: โหลดตามสภาพภูมิอากาศ

- การทดสอบประสิทธิภาพภายใต้สภาวะอุณหภูมิที่สูง ความชื้น การเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิ และความต้านทานต่อละอองความเค็ม หรือเกลือ กับละอองน้ำ

ส่วนที่ 5: โหลดทางเคมี

- ตรวจสอบความต้านทานต่อสารเคมีในยานยนต์เช่น เชื้อเพลิง น้ำมัน และสารทำความสะอาด

การนำ ISO 16750 ไปใช้

ISO 16750 มีความสำคัญต่อซัพพลายเออร์และผู้ผลิตยานยนต์ โดยการยึดมั่นตามมาตรฐานนี้ บริษัทต่างๆ สามารถมั่นใจได้ว่า ส่วนประกอบต่างๆ ของตนเป็นไปตามข้อกำหนดด้านความน่าเชื่อถือ และความปลอดภัยที่เข้มงวดของอุตสาหกรรมยานยนต์ ตัวอย่างเช่น การทดสอบกล่องควบคุมสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ (ECU) เซ็นเซอร์ และระบบอินโฟเทนเมนต์ เป็นต้น

MIL-STD-810: มาตรฐานทางทหารสำหรับการทดสอบด้านสิ่งแวดล้อม

MIL-STD-810 คือ มาตรฐานทางทหารของสหรัฐอเมริกาที่กำหนดให้มีการทดสอบด้านสิ่งแวดล้อม สำหรับอุปกรณ์ทางทหาร โดยรับรองว่า อุปกรณ์สามารถทนต่อสภาวะที่รุนแรซึ่งพบระหว่าง ปฏิบัติการทางทหาร เช่น อุณหภูมิที่รุนแรง พายุทราย และ แรงสั่นสะเทือนในสนามรบ เป็นต้น

การทดสอบที่สำคัญใน MIL-STD-810

MIL-STD-810 ประกอบด้วยการทดสอบสิ่งแวดล้อม 29 รายการ โดยรายการที่สำคัญที่สุด ได้แก่:

-การทดสอบอุณหภูมิ ประกอบด้วยการทดสอบอุณหภูมิสูง อุณหภูมิต่ำ และแรงช็อคที่ก่อให้เกิดความร้อน

รวมถึงการประเมินประสิทธิภาพในสภาพอากาศที่รุนแรงและการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิอย่างรวดเร็ว

การทดสอบการสั่นสะเทือน

ประเมินความต้านทานต่อการสั่นสะเทือนอย่างต่อเนื่องจากยานพาหนะ เครื่องบิน และเครื่องจักร

การทดสอบแรงกระแทกและการตก

จำลองแรงกระแทกจากการตก โดยไม่ได้ตั้งใจ หรือแรงระเบิด

การทดสอบความชื้น

ทดสอบการกัดกร่อนและประสิทธิภาพทางไฟฟ้าในสภาวะแวดล้อมที่มีความชื้น

การทดสอบหมอกเกลือ

ประเมินความต้านทานต่อการกัดกร่อนที่เกิดจากเกลือ โดยเฉพาะอย่างยิ่งสำหรับการใช้งานในกองทัพเรือ และใกล้ชายฝั่ง

การทดสอบทรายและฝุ่น

จำลองการสัมผัสกับอนุภาคที่มีฤทธิ์กัดกร่อนในสภาพแวดล้อมแบบทะเลทราย

การใช้งาน MIL-STD-810

MIL-STD-810 ใช้โดยผู้ที่ได้รับการรับรองการผลิตอุปกรณ์ด้านอุตสาหกรรม ด้านการป้องกันประเทศ ผู้ผลิตอากาศยาน และผู้พัฒนาอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์  ซึ่งสามารถนำไปใช้กับผลิตภัณฑ์เช่น วิทยุ ระบบนำทาง อาวุธยุทโธปกรณ์ ตลอดจนอุตสาหกรรมพลเรือนอย่างโทรคมนาคมและการขนส่ง เพื่อเพิ่มความทนทานให้ผลิตภัณฑ์

นอกจากนี้ยังมีมาตรฐานอื่นๆ ได้แก่  IEC 60068 สำหรับทดสอบด้านสิ่งแวดล้อม หรือ RTCA DO-160 เกี่ยวกับเงื่อนไขด้านสิ่งแวดล้อม และขั้นตอนการทดสอบสำหรับอุปกรณ์บนเครื่องบิน มาตรฐาน ASTM สำหรับการทดสอบวัสดุจากสมาคมในสหรัฐอเมริกา เป็นต้น

Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipiscing elit. Suspendisse varius enim in eros elementum tristique. Duis cursus, mi quis viverra ornare, eros dolor interdum nulla, ut commodo diam libero vitae erat. Aenean faucibus nibh et justo cursus id rutrum lorem imperdiet. Nunc ut sem vitae risus tristique posuere.

มาตรฐานการทดสอบด้านสิ่งแวดล้อม: ISO 16750, MIL-STD-810 และอื่นๆ

มาตรฐานการทดสอบด้านสิ่งแวดล้อม: ISO 16750, MIL-STD-810 และอื่นๆ

บทความนี้กล่าวถึงการทดสอบด้านสิ่งแวดล้อมเพื่อรับรองความทนทานของผลิตภัณฑ์ในอุตสาหกรรมต่างๆ พร้อมแนะนำมาตรฐานที่ใช้ทั่วไป เช่น ISO 16750 และ MIL-STD-810

Lorem ipsum dolor amet consectetur adipiscing elit tortor massa arcu non.

การทดสอบด้านสิ่งแวดล้อมเป็นขั้นตอนสำคัญในการรับรองความน่าเชื่อถือ และความทนทานของผลิตภัณฑ์ในอุตสาหกรรมต่างๆ ตั้งแต่อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ที่ใช้งานทั่วไป จนถึงอุตสาหกรรมการบินและอวกาศ และการป้องกันประเทศ ผู้ผลิตต้องทดสอบผลิตภัณฑ์อย่างเข้มงวดเพื่อให้มั่นใจว่า ผลิตภัณฑ์สามารถทนต่อความท้าทายในสภาพแวดล้อมจริงได้ ดังนั้นการหารือเกี่ยวกับรายละเอียดของมาตรฐานการทดสอบด้านสิ่งแวดล้อมที่ใช้กันอย่างแพร่หลายและเป็นที่ยอมรับมากที่สุดเช่น มาตรฐาน ISO 16750  MIL-STD-810 และอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องต่อการประยุกต์ใช้งานในปัจจุบัน จึงสำคัญเป็นอย่างยิ่ง

ISO 16750: การทดสอบสิ่งแวดล้อมสำหรับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ยานยนต์

ISO 16750 เป็นมาตรฐานที่เกี่ยวกับข้อกำหนดการทดสอบด้านสิ่งแวดล้อม สำหรับระบบไฟฟ้า และอิเล็กทรอนิกส์ในยานพาหนะบนท้องถนน มาตรฐานนี้ใช้สำหรับรับรองว่า ส่วนประกอบของยานยนต์ทำงานได้อย่างน่าเชื่อถือภายใต้เงื่อนไขในการปฏิบัติจริงเช่น ความผันผวนของอุณหภูมิ การสั่นสะเทือน และสารเคมีมาตรฐานนี้ประกอบไปด้วย 5 ส่วน แต่ละส่วนจะกล่าวถึงประเด็นของการทดสอบสิ่งแวดล้อมดังนี้

ส่วนที่ 1: ทั่วไป

- ภาพรวมของมาตรฐาน และขอบเขต

- ข้อกำหนด และการจำแนกประเภทการทดสอบทั่วไป

ส่วนที่ 2: โหลดไฟฟ้าหรือประจุไฟฟ้า

- การทดสอบความแปรผันของแรงดันไฟฟ้า แรงดันไฟฟ้าสูงเกินไป แรงดันไฟฟ้าต่ำกว่าข้อ   กำหนด และการกระชากของกระแสไฟฟ้า

ส่วนที่ 3: โหลดทางกล

- ประเมินแรงเสียดทานของส่วนประกอบต่อการสั่นสะเทือน แรงกระแทก และความล้าทางกล รวมถึงการทดสอบการตก การประเมินความเครียดและแรงตึงจากการติดตั้ง

ส่วนที่ 4: โหลดตามสภาพภูมิอากาศ

- การทดสอบประสิทธิภาพภายใต้สภาวะอุณหภูมิที่สูง ความชื้น การเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิ และความต้านทานต่อละอองความเค็ม หรือเกลือ กับละอองน้ำ

ส่วนที่ 5: โหลดทางเคมี

- ตรวจสอบความต้านทานต่อสารเคมีในยานยนต์เช่น เชื้อเพลิง น้ำมัน และสารทำความสะอาด

การนำ ISO 16750 ไปใช้

ISO 16750 มีความสำคัญต่อซัพพลายเออร์และผู้ผลิตยานยนต์ โดยการยึดมั่นตามมาตรฐานนี้ บริษัทต่างๆ สามารถมั่นใจได้ว่า ส่วนประกอบต่างๆ ของตนเป็นไปตามข้อกำหนดด้านความน่าเชื่อถือ และความปลอดภัยที่เข้มงวดของอุตสาหกรรมยานยนต์ ตัวอย่างเช่น การทดสอบกล่องควบคุมสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ (ECU) เซ็นเซอร์ และระบบอินโฟเทนเมนต์ เป็นต้น

MIL-STD-810: มาตรฐานทางทหารสำหรับการทดสอบด้านสิ่งแวดล้อม

MIL-STD-810 คือ มาตรฐานทางทหารของสหรัฐอเมริกาที่กำหนดให้มีการทดสอบด้านสิ่งแวดล้อม สำหรับอุปกรณ์ทางทหาร โดยรับรองว่า อุปกรณ์สามารถทนต่อสภาวะที่รุนแรซึ่งพบระหว่าง ปฏิบัติการทางทหาร เช่น อุณหภูมิที่รุนแรง พายุทราย และ แรงสั่นสะเทือนในสนามรบ เป็นต้น

การทดสอบที่สำคัญใน MIL-STD-810

MIL-STD-810 ประกอบด้วยการทดสอบสิ่งแวดล้อม 29 รายการ โดยรายการที่สำคัญที่สุด ได้แก่:

-การทดสอบอุณหภูมิ ประกอบด้วยการทดสอบอุณหภูมิสูง อุณหภูมิต่ำ และแรงช็อคที่ก่อให้เกิดความร้อน

รวมถึงการประเมินประสิทธิภาพในสภาพอากาศที่รุนแรงและการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิอย่างรวดเร็ว

การทดสอบการสั่นสะเทือน

ประเมินความต้านทานต่อการสั่นสะเทือนอย่างต่อเนื่องจากยานพาหนะ เครื่องบิน และเครื่องจักร

การทดสอบแรงกระแทกและการตก

จำลองแรงกระแทกจากการตก โดยไม่ได้ตั้งใจ หรือแรงระเบิด

การทดสอบความชื้น

ทดสอบการกัดกร่อนและประสิทธิภาพทางไฟฟ้าในสภาวะแวดล้อมที่มีความชื้น

การทดสอบหมอกเกลือ

ประเมินความต้านทานต่อการกัดกร่อนที่เกิดจากเกลือ โดยเฉพาะอย่างยิ่งสำหรับการใช้งานในกองทัพเรือ และใกล้ชายฝั่ง

การทดสอบทรายและฝุ่น

จำลองการสัมผัสกับอนุภาคที่มีฤทธิ์กัดกร่อนในสภาพแวดล้อมแบบทะเลทราย

การใช้งาน MIL-STD-810

MIL-STD-810 ใช้โดยผู้ที่ได้รับการรับรองการผลิตอุปกรณ์ด้านอุตสาหกรรม ด้านการป้องกันประเทศ ผู้ผลิตอากาศยาน และผู้พัฒนาอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์  ซึ่งสามารถนำไปใช้กับผลิตภัณฑ์เช่น วิทยุ ระบบนำทาง อาวุธยุทโธปกรณ์ ตลอดจนอุตสาหกรรมพลเรือนอย่างโทรคมนาคมและการขนส่ง เพื่อเพิ่มความทนทานให้ผลิตภัณฑ์

นอกจากนี้ยังมีมาตรฐานอื่นๆ ได้แก่  IEC 60068 สำหรับทดสอบด้านสิ่งแวดล้อม หรือ RTCA DO-160 เกี่ยวกับเงื่อนไขด้านสิ่งแวดล้อม และขั้นตอนการทดสอบสำหรับอุปกรณ์บนเครื่องบิน มาตรฐาน ASTM สำหรับการทดสอบวัสดุจากสมาคมในสหรัฐอเมริกา เป็นต้น