มาทำความเข้าใจกับรูปแบบโมเดลจำลองสำหรับการสื่อสารภายในและภายนอกอาคาร

การเดินทางของคลื่นวิทยุ (RF Propagation) มีบทบาทสำคัญในเทคโนโลยีการสื่อสารไร้สาย การพัฒนาโมเดลจำลอง (Propagation Models) ช่วยให้สามารถวิเคราะห์และปรับปรุง

มาทำความเข้าใจกับรูปแบบโมเดลจำลองสำหรับการสื่อสารภายในและภายนอกอาคาร

ในการเดินทางของคลื่นวิทยุ (Radio wave propagation) หรือบางที่อาจจะเรียกว่า RF radio frequency propagation คือการใช้ประโยชน์ของคลื่นวิทยุในย่านความถี่ต่างๆ ในการสื่อสารข้อมูลระหว่างผู้รับและผู้ส่ง ซึ่งในกรณีที่ต้องการวัดและทดสอบคุณภาพของสัญญาณนั้นจะต้องมีการทดลองในสภาพแวดล้อมที่แตกต่างกันตามวัตถุประสงค์ของการใช้งาน ทั้งในพื้นที่ปิดหรือในสถานที่ที่มีการกำหนด หรือจำลองขึ้น (Indoor Environment) เช่น ภายในตึกหรืออาคาร เป็นต้น และพื้นที่เปิดโล่ง (Outdoor Environment) เช่น ถนน หรือสนามต่างๆ ฯลฯ โดยคำนึงถึงคุณภาพของสัญญาณและปัจจัยอื่นๆมาคำนวนออกมาเป็นรูปแบบจำลองหรือโมเดล เพื่อนำไปสู่การพัฒนาและแก้ไขปัญหาในการสื่อสารให้ดียิ่งขึ้นต่อไป

ประเภทของรูปแบบจำลองโมเดล

ความแตกต่างของแต่ละโมเดลนั้นได้มีการพัฒนาออกมาในหลายๆ รูปแบบ ซึ่งจะแตกต่างกันไปจากการใช้งานและลักษณะการเดินทางของสัญญาณในสภาวะแวดล้อมที่แตกต่างกัน โดยประเภทของรูปแบบจำลองโมเดลนั้นสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทดังนี้

1. รูปแบบจำลองโมเดลภายในอาคาร (Indoor Propagation Model)

2. รูปแบบจำลองโมเดลภายในอาคาร (Outdoor Propagation Model)

รูปแบบจำลองสำหรับการสื่อสารภายในอาคาร (Indoor Propagation Model)

สำหรับการสื่อสารของภายในอาคารนั้นมีความแตกต่างจากการสื่อสารทั่วไป  โดยมีสิ่งที่ต้องพิจารณาและคำนึงคือ ระยะทางที่สั้นและพื้นที่ที่จำกัด พื้นที่ที่มีการติดตั้งสายอากาศ รวมถึงการแปรผันจากปัจจัยต่างๆ ที่ส่งผลกระทบต่อการเดินทางของคลื่น ไม่ว่าจะเป็น รูปแบบโครงสร้างของอาคาร (Layout of building)  วัสดุของอาคาร (Construction Material) และรูปทรงของอาคาร (Type of Building) เป็นต้น ตลอดจนการจางหายไปของสัญญาณ (Fading) ซึ่งเป็นการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของสัญญาณเทียบกับระยะที่สั้นหรือช่วงของเวลา นอกจากนี้ต้องมีการศึกษาถึงการเดินทางของคลื่นในลักษณธ Multipath Effect ที่มีผลต่อความเข้มของสัญญาณที่มีลักษณะของการเสริมกัน( Constructive) หรือการหักล้างกัน (Phase Cancellation) ซึ่งโดยทั่วไปการสื่อสารภายในอาคารนั้น ขึ้นอยู่กับลักษณะการเดินทางของคลื่นในระดับสายตา (Line of Sight: LOS) และสิ่งกีดขวาง OBS (Obstructed Paths)

ลักษณะโมเดลแบบ Indoor

รูปแบบจำลองโมเดลภายในอาคารนี้ จะคำนึงการลดทอนของสัญญาณ (Attenuation) เป็นหลักเพราะเนื่องจากมีสิ่งรบกวนและปัจจัยอื่นๆมาเป็นตัวแปรที่ส่งผลต่อคุณภาพของสัญญาณ โดยปกติจะใช้โมเดลหลักๆ 3 โมเดล คือ

• ITU Model สำหรับการลดทอนของสัญญาณที่เกิดขึ้นภายในอาคาร (Indoor Attenuation) หรือ ITU Indoor Path Loss Model

• Long-Distance Path Loss Model การคำนวณหา Path Loss

• Ericsson Multiple Breakpoint Model เป็นต้น

ภาพแสดง ตัวอย่างความเข้มของสัญญาณจากการวัดภายในอาคารตามระยะทาง

รูปแบบจำลองสำหรับการสื่อสารภายนอกอาคาร (Outdoor Propagation Model)

ในการสื่อสารของวิทยุ โทรศัพท์ หรือสัญญาณอินเทอร์เน็ต สามารถทำการจำลองออกมาในรูปแบบของโมเดลได้หลากหลายวิธีเพื่อที่จะสามารถคาดคะเนลักษณะหรือคุณภาพของสัญญาณได้โดยเทียบกับพื้นที่สภาพแวดล้อมต่างๆ ในที่นี้ ในลักษณะของรูปแบบจำลองสำหรับการสื่อสารภายนอกอาคาร ( Outdoor Application) นั้น ต้องมีการคำนึงถึง Path loss หรือความสูญเสียที่เกิดขึ้นในการสื่อสารโดยขึ้นอยู่กับระยะทางเป็นหลัก ตลอดจนวิธีการที่จะคำนวณหาความเข้มของสัญญาณ (Signal Strength) ซึ่งมีความซับซ้อนแต่ก็มีความแม่นยำ และสามารถนำมาวิเคราะห์จนถึงการแปลผลต่อไปได้

ลักษณะโมเดลแบบ Outdoor

• City Models เช่น Young Model, Okumura Model มีการใช้งานอย่างแพร่หลายในการวัดความเข้มของสัญญาณ, Hata Model for Urban Area, Suburban Area, Open Area ซึ่งมีการสูตรคำนวณอย่างง่ายนำมาพิจารณาร่วมกับ Model ของ Okumura, นอกจากนี้ยังมีโมเดล COST Model เป็นต้น

• Terrain Models เช่น Egi Model, Longley-Rice Model พัฒนามาจาก Okamura for urban, และ ITU Terrain Model

• Environmental Attenuation Models

• P2P หรือ Point to Point Propagation Models

• Ground Wave Propagation Models

• Sky Wave Propagation Models

นอกจากนี้ยังมีการจำลองโมเดลที่กำหนดช่วงความถี่ เช่น ISM Band, Green-Obaidat Model เป็นการจำลองโมเดล เพื่อวัตถุประสงค์ในการหาความสามารถของ WIFI

         อย่างไรก็ตามสิ่งที่ขาดไม่ได้เลยคือความเข้าใจในการกระบวนการเดินทางของคลื่นวิทยุ (Radio Propagation Mechanisms) ที่เป็นพื้นฐานของทั้ง 2 รูปแบบโมเดล Indoor และ Outdoor ไม่ว่าจะเป็น การหักเหของแสง (Refraction) กล่าวคือ วัสดุที่มีผลต่อการเดินทางของคลื่น เช่น  Conductor และ Dielectric Material ฯลฯ รวมทั้ง การเลี้ยวเบน (Diffraction) ซึ่งต้องพิจารณาสมการของ Fresnel Zones หรือการเดินทางของคลื่นในพื้นที่มีสิ่งกีดขวาง และมีการโค้งงอ ตลอดจนการกระเจิงของคลื่น (Scattering) ที่มีรายละเอียดเกี่ยวเนื่องกับความยาวคลื่น ดังเช่น Clutter เป็นต้น ดังนั้นการจำลองโมเดลทั้งภายในอาคารและนอกอาคารจึงต้องมีการศึกษาและเข้าใจในทฤษฎีของการสื่อสารที่มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการนำมาโมเดลมาวิเคราะห์ถึงคุณภาพของสัญญาณต่อไป

มาทำความเข้าใจกับรูปแบบโมเดลจำลองสำหรับการสื่อสารภายในและภายนอกอาคาร

การเดินทางของคลื่นวิทยุ (RF Propagation) มีบทบาทสำคัญในเทคโนโลยีการสื่อสารไร้สาย การพัฒนาโมเดลจำลอง (Propagation Models) ช่วยให้สามารถวิเคราะห์และปรับปรุง

นักเขียนบทความ
by 
นักเขียนบทความ
มาทำความเข้าใจกับรูปแบบโมเดลจำลองสำหรับการสื่อสารภายในและภายนอกอาคาร

มาทำความเข้าใจกับรูปแบบโมเดลจำลองสำหรับการสื่อสารภายในและภายนอกอาคาร

การเดินทางของคลื่นวิทยุ (RF Propagation) มีบทบาทสำคัญในเทคโนโลยีการสื่อสารไร้สาย การพัฒนาโมเดลจำลอง (Propagation Models) ช่วยให้สามารถวิเคราะห์และปรับปรุง

ในการเดินทางของคลื่นวิทยุ (Radio wave propagation) หรือบางที่อาจจะเรียกว่า RF radio frequency propagation คือการใช้ประโยชน์ของคลื่นวิทยุในย่านความถี่ต่างๆ ในการสื่อสารข้อมูลระหว่างผู้รับและผู้ส่ง ซึ่งในกรณีที่ต้องการวัดและทดสอบคุณภาพของสัญญาณนั้นจะต้องมีการทดลองในสภาพแวดล้อมที่แตกต่างกันตามวัตถุประสงค์ของการใช้งาน ทั้งในพื้นที่ปิดหรือในสถานที่ที่มีการกำหนด หรือจำลองขึ้น (Indoor Environment) เช่น ภายในตึกหรืออาคาร เป็นต้น และพื้นที่เปิดโล่ง (Outdoor Environment) เช่น ถนน หรือสนามต่างๆ ฯลฯ โดยคำนึงถึงคุณภาพของสัญญาณและปัจจัยอื่นๆมาคำนวนออกมาเป็นรูปแบบจำลองหรือโมเดล เพื่อนำไปสู่การพัฒนาและแก้ไขปัญหาในการสื่อสารให้ดียิ่งขึ้นต่อไป

ประเภทของรูปแบบจำลองโมเดล

ความแตกต่างของแต่ละโมเดลนั้นได้มีการพัฒนาออกมาในหลายๆ รูปแบบ ซึ่งจะแตกต่างกันไปจากการใช้งานและลักษณะการเดินทางของสัญญาณในสภาวะแวดล้อมที่แตกต่างกัน โดยประเภทของรูปแบบจำลองโมเดลนั้นสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทดังนี้

1. รูปแบบจำลองโมเดลภายในอาคาร (Indoor Propagation Model)

2. รูปแบบจำลองโมเดลภายในอาคาร (Outdoor Propagation Model)

รูปแบบจำลองสำหรับการสื่อสารภายในอาคาร (Indoor Propagation Model)

สำหรับการสื่อสารของภายในอาคารนั้นมีความแตกต่างจากการสื่อสารทั่วไป  โดยมีสิ่งที่ต้องพิจารณาและคำนึงคือ ระยะทางที่สั้นและพื้นที่ที่จำกัด พื้นที่ที่มีการติดตั้งสายอากาศ รวมถึงการแปรผันจากปัจจัยต่างๆ ที่ส่งผลกระทบต่อการเดินทางของคลื่น ไม่ว่าจะเป็น รูปแบบโครงสร้างของอาคาร (Layout of building)  วัสดุของอาคาร (Construction Material) และรูปทรงของอาคาร (Type of Building) เป็นต้น ตลอดจนการจางหายไปของสัญญาณ (Fading) ซึ่งเป็นการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของสัญญาณเทียบกับระยะที่สั้นหรือช่วงของเวลา นอกจากนี้ต้องมีการศึกษาถึงการเดินทางของคลื่นในลักษณธ Multipath Effect ที่มีผลต่อความเข้มของสัญญาณที่มีลักษณะของการเสริมกัน( Constructive) หรือการหักล้างกัน (Phase Cancellation) ซึ่งโดยทั่วไปการสื่อสารภายในอาคารนั้น ขึ้นอยู่กับลักษณะการเดินทางของคลื่นในระดับสายตา (Line of Sight: LOS) และสิ่งกีดขวาง OBS (Obstructed Paths)

ลักษณะโมเดลแบบ Indoor

รูปแบบจำลองโมเดลภายในอาคารนี้ จะคำนึงการลดทอนของสัญญาณ (Attenuation) เป็นหลักเพราะเนื่องจากมีสิ่งรบกวนและปัจจัยอื่นๆมาเป็นตัวแปรที่ส่งผลต่อคุณภาพของสัญญาณ โดยปกติจะใช้โมเดลหลักๆ 3 โมเดล คือ

• ITU Model สำหรับการลดทอนของสัญญาณที่เกิดขึ้นภายในอาคาร (Indoor Attenuation) หรือ ITU Indoor Path Loss Model

• Long-Distance Path Loss Model การคำนวณหา Path Loss

• Ericsson Multiple Breakpoint Model เป็นต้น

ภาพแสดง ตัวอย่างความเข้มของสัญญาณจากการวัดภายในอาคารตามระยะทาง

รูปแบบจำลองสำหรับการสื่อสารภายนอกอาคาร (Outdoor Propagation Model)

ในการสื่อสารของวิทยุ โทรศัพท์ หรือสัญญาณอินเทอร์เน็ต สามารถทำการจำลองออกมาในรูปแบบของโมเดลได้หลากหลายวิธีเพื่อที่จะสามารถคาดคะเนลักษณะหรือคุณภาพของสัญญาณได้โดยเทียบกับพื้นที่สภาพแวดล้อมต่างๆ ในที่นี้ ในลักษณะของรูปแบบจำลองสำหรับการสื่อสารภายนอกอาคาร ( Outdoor Application) นั้น ต้องมีการคำนึงถึง Path loss หรือความสูญเสียที่เกิดขึ้นในการสื่อสารโดยขึ้นอยู่กับระยะทางเป็นหลัก ตลอดจนวิธีการที่จะคำนวณหาความเข้มของสัญญาณ (Signal Strength) ซึ่งมีความซับซ้อนแต่ก็มีความแม่นยำ และสามารถนำมาวิเคราะห์จนถึงการแปลผลต่อไปได้

ลักษณะโมเดลแบบ Outdoor

• City Models เช่น Young Model, Okumura Model มีการใช้งานอย่างแพร่หลายในการวัดความเข้มของสัญญาณ, Hata Model for Urban Area, Suburban Area, Open Area ซึ่งมีการสูตรคำนวณอย่างง่ายนำมาพิจารณาร่วมกับ Model ของ Okumura, นอกจากนี้ยังมีโมเดล COST Model เป็นต้น

• Terrain Models เช่น Egi Model, Longley-Rice Model พัฒนามาจาก Okamura for urban, และ ITU Terrain Model

• Environmental Attenuation Models

• P2P หรือ Point to Point Propagation Models

• Ground Wave Propagation Models

• Sky Wave Propagation Models

นอกจากนี้ยังมีการจำลองโมเดลที่กำหนดช่วงความถี่ เช่น ISM Band, Green-Obaidat Model เป็นการจำลองโมเดล เพื่อวัตถุประสงค์ในการหาความสามารถของ WIFI

         อย่างไรก็ตามสิ่งที่ขาดไม่ได้เลยคือความเข้าใจในการกระบวนการเดินทางของคลื่นวิทยุ (Radio Propagation Mechanisms) ที่เป็นพื้นฐานของทั้ง 2 รูปแบบโมเดล Indoor และ Outdoor ไม่ว่าจะเป็น การหักเหของแสง (Refraction) กล่าวคือ วัสดุที่มีผลต่อการเดินทางของคลื่น เช่น  Conductor และ Dielectric Material ฯลฯ รวมทั้ง การเลี้ยวเบน (Diffraction) ซึ่งต้องพิจารณาสมการของ Fresnel Zones หรือการเดินทางของคลื่นในพื้นที่มีสิ่งกีดขวาง และมีการโค้งงอ ตลอดจนการกระเจิงของคลื่น (Scattering) ที่มีรายละเอียดเกี่ยวเนื่องกับความยาวคลื่น ดังเช่น Clutter เป็นต้น ดังนั้นการจำลองโมเดลทั้งภายในอาคารและนอกอาคารจึงต้องมีการศึกษาและเข้าใจในทฤษฎีของการสื่อสารที่มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการนำมาโมเดลมาวิเคราะห์ถึงคุณภาพของสัญญาณต่อไป

Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipiscing elit. Suspendisse varius enim in eros elementum tristique. Duis cursus, mi quis viverra ornare, eros dolor interdum nulla, ut commodo diam libero vitae erat. Aenean faucibus nibh et justo cursus id rutrum lorem imperdiet. Nunc ut sem vitae risus tristique posuere.

มาทำความเข้าใจกับรูปแบบโมเดลจำลองสำหรับการสื่อสารภายในและภายนอกอาคาร

มาทำความเข้าใจกับรูปแบบโมเดลจำลองสำหรับการสื่อสารภายในและภายนอกอาคาร

การเดินทางของคลื่นวิทยุ (RF Propagation) มีบทบาทสำคัญในเทคโนโลยีการสื่อสารไร้สาย การพัฒนาโมเดลจำลอง (Propagation Models) ช่วยให้สามารถวิเคราะห์และปรับปรุง

Lorem ipsum dolor amet consectetur adipiscing elit tortor massa arcu non.

ในการเดินทางของคลื่นวิทยุ (Radio wave propagation) หรือบางที่อาจจะเรียกว่า RF radio frequency propagation คือการใช้ประโยชน์ของคลื่นวิทยุในย่านความถี่ต่างๆ ในการสื่อสารข้อมูลระหว่างผู้รับและผู้ส่ง ซึ่งในกรณีที่ต้องการวัดและทดสอบคุณภาพของสัญญาณนั้นจะต้องมีการทดลองในสภาพแวดล้อมที่แตกต่างกันตามวัตถุประสงค์ของการใช้งาน ทั้งในพื้นที่ปิดหรือในสถานที่ที่มีการกำหนด หรือจำลองขึ้น (Indoor Environment) เช่น ภายในตึกหรืออาคาร เป็นต้น และพื้นที่เปิดโล่ง (Outdoor Environment) เช่น ถนน หรือสนามต่างๆ ฯลฯ โดยคำนึงถึงคุณภาพของสัญญาณและปัจจัยอื่นๆมาคำนวนออกมาเป็นรูปแบบจำลองหรือโมเดล เพื่อนำไปสู่การพัฒนาและแก้ไขปัญหาในการสื่อสารให้ดียิ่งขึ้นต่อไป

ประเภทของรูปแบบจำลองโมเดล

ความแตกต่างของแต่ละโมเดลนั้นได้มีการพัฒนาออกมาในหลายๆ รูปแบบ ซึ่งจะแตกต่างกันไปจากการใช้งานและลักษณะการเดินทางของสัญญาณในสภาวะแวดล้อมที่แตกต่างกัน โดยประเภทของรูปแบบจำลองโมเดลนั้นสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทดังนี้

1. รูปแบบจำลองโมเดลภายในอาคาร (Indoor Propagation Model)

2. รูปแบบจำลองโมเดลภายในอาคาร (Outdoor Propagation Model)

รูปแบบจำลองสำหรับการสื่อสารภายในอาคาร (Indoor Propagation Model)

สำหรับการสื่อสารของภายในอาคารนั้นมีความแตกต่างจากการสื่อสารทั่วไป  โดยมีสิ่งที่ต้องพิจารณาและคำนึงคือ ระยะทางที่สั้นและพื้นที่ที่จำกัด พื้นที่ที่มีการติดตั้งสายอากาศ รวมถึงการแปรผันจากปัจจัยต่างๆ ที่ส่งผลกระทบต่อการเดินทางของคลื่น ไม่ว่าจะเป็น รูปแบบโครงสร้างของอาคาร (Layout of building)  วัสดุของอาคาร (Construction Material) และรูปทรงของอาคาร (Type of Building) เป็นต้น ตลอดจนการจางหายไปของสัญญาณ (Fading) ซึ่งเป็นการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของสัญญาณเทียบกับระยะที่สั้นหรือช่วงของเวลา นอกจากนี้ต้องมีการศึกษาถึงการเดินทางของคลื่นในลักษณธ Multipath Effect ที่มีผลต่อความเข้มของสัญญาณที่มีลักษณะของการเสริมกัน( Constructive) หรือการหักล้างกัน (Phase Cancellation) ซึ่งโดยทั่วไปการสื่อสารภายในอาคารนั้น ขึ้นอยู่กับลักษณะการเดินทางของคลื่นในระดับสายตา (Line of Sight: LOS) และสิ่งกีดขวาง OBS (Obstructed Paths)

ลักษณะโมเดลแบบ Indoor

รูปแบบจำลองโมเดลภายในอาคารนี้ จะคำนึงการลดทอนของสัญญาณ (Attenuation) เป็นหลักเพราะเนื่องจากมีสิ่งรบกวนและปัจจัยอื่นๆมาเป็นตัวแปรที่ส่งผลต่อคุณภาพของสัญญาณ โดยปกติจะใช้โมเดลหลักๆ 3 โมเดล คือ

• ITU Model สำหรับการลดทอนของสัญญาณที่เกิดขึ้นภายในอาคาร (Indoor Attenuation) หรือ ITU Indoor Path Loss Model

• Long-Distance Path Loss Model การคำนวณหา Path Loss

• Ericsson Multiple Breakpoint Model เป็นต้น

ภาพแสดง ตัวอย่างความเข้มของสัญญาณจากการวัดภายในอาคารตามระยะทาง

รูปแบบจำลองสำหรับการสื่อสารภายนอกอาคาร (Outdoor Propagation Model)

ในการสื่อสารของวิทยุ โทรศัพท์ หรือสัญญาณอินเทอร์เน็ต สามารถทำการจำลองออกมาในรูปแบบของโมเดลได้หลากหลายวิธีเพื่อที่จะสามารถคาดคะเนลักษณะหรือคุณภาพของสัญญาณได้โดยเทียบกับพื้นที่สภาพแวดล้อมต่างๆ ในที่นี้ ในลักษณะของรูปแบบจำลองสำหรับการสื่อสารภายนอกอาคาร ( Outdoor Application) นั้น ต้องมีการคำนึงถึง Path loss หรือความสูญเสียที่เกิดขึ้นในการสื่อสารโดยขึ้นอยู่กับระยะทางเป็นหลัก ตลอดจนวิธีการที่จะคำนวณหาความเข้มของสัญญาณ (Signal Strength) ซึ่งมีความซับซ้อนแต่ก็มีความแม่นยำ และสามารถนำมาวิเคราะห์จนถึงการแปลผลต่อไปได้

ลักษณะโมเดลแบบ Outdoor

• City Models เช่น Young Model, Okumura Model มีการใช้งานอย่างแพร่หลายในการวัดความเข้มของสัญญาณ, Hata Model for Urban Area, Suburban Area, Open Area ซึ่งมีการสูตรคำนวณอย่างง่ายนำมาพิจารณาร่วมกับ Model ของ Okumura, นอกจากนี้ยังมีโมเดล COST Model เป็นต้น

• Terrain Models เช่น Egi Model, Longley-Rice Model พัฒนามาจาก Okamura for urban, และ ITU Terrain Model

• Environmental Attenuation Models

• P2P หรือ Point to Point Propagation Models

• Ground Wave Propagation Models

• Sky Wave Propagation Models

นอกจากนี้ยังมีการจำลองโมเดลที่กำหนดช่วงความถี่ เช่น ISM Band, Green-Obaidat Model เป็นการจำลองโมเดล เพื่อวัตถุประสงค์ในการหาความสามารถของ WIFI

         อย่างไรก็ตามสิ่งที่ขาดไม่ได้เลยคือความเข้าใจในการกระบวนการเดินทางของคลื่นวิทยุ (Radio Propagation Mechanisms) ที่เป็นพื้นฐานของทั้ง 2 รูปแบบโมเดล Indoor และ Outdoor ไม่ว่าจะเป็น การหักเหของแสง (Refraction) กล่าวคือ วัสดุที่มีผลต่อการเดินทางของคลื่น เช่น  Conductor และ Dielectric Material ฯลฯ รวมทั้ง การเลี้ยวเบน (Diffraction) ซึ่งต้องพิจารณาสมการของ Fresnel Zones หรือการเดินทางของคลื่นในพื้นที่มีสิ่งกีดขวาง และมีการโค้งงอ ตลอดจนการกระเจิงของคลื่น (Scattering) ที่มีรายละเอียดเกี่ยวเนื่องกับความยาวคลื่น ดังเช่น Clutter เป็นต้น ดังนั้นการจำลองโมเดลทั้งภายในอาคารและนอกอาคารจึงต้องมีการศึกษาและเข้าใจในทฤษฎีของการสื่อสารที่มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการนำมาโมเดลมาวิเคราะห์ถึงคุณภาพของสัญญาณต่อไป