ลักษณะเฉพาะของตัวเก็บประจุ

การทำความเข้าใจในเรื่องของคุณลักษณะของตัวเก็บ ตระกูลของตัวเก็บประจุ ความจุไฟฟ้า แรงดัน ค่าความผิดพลาด กระแสไฟฟ้ารั่ว อุณหภูมิ โพลาไรเซชัน ESR และความปลอดภ

ลักษณะเฉพาะของตัวเก็บประจุ

ลักษณะของตัวเก็บประจุและวิธีการแยกแยะประเภท

ตัวเก็บประจุมีลักษณะและข้อมูลจำเพาะเจาะจงที่หลากหลายซึ่งเป็นสิ่งสำคัญที่จะต้องทำความเข้าใจให้ดี หลายครั้งที่การอ่านข้อมูลบนตัวเก็บประจุดูจะเป็นเรื่องที่ท้าทายอยู่เหมือนกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อข้อมูลนั้น ๆ เกี่ยวข้องกับสีหรือรหัสตัวเลข เพื่อที่จะระบุคุณลักษณะเหล่านี้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ให้ปฏิบัติตามคำแนะนำดังต่อไปนี้

1. พิจารณาจากตระกูลของตัวเก็บประจุ   

เริ่มจากการระบุประเภทของตระกูลตัวเก็บประจุที่ทำมาจากเซรามิก ฟิล์ม พลาสติก อิเล็กโทรลีติค (electrolytic) โดยในขั้นนี้ช่วยให้คุณจำกัดลักษณะเฉพาะของตัวเก็บประจุให้แคบลงได้นั้นเอง

2. Nominal Capacitance (C)

 ค่าความจุที่เรียกว่า "C"  มีความสำคัญมาก ซึ่งมีหน่วยวัดเป็นพิโคฟารัด pico-Farads (pF) นาโนฟารัด nano-Farads (nF) หรือ ไมโครฟารัด micro-Farads (μF) และจะถูกทำสัญลักษณ์บนตัวของตัวเก็บประจุเป็นตัวเลข ตัวหนังสือ หรือแถบสี แล้วอย่าลืมว่าความจุจริงนั้นอาจแตกต่างกันไปจากค่าที่ระบุไว้ก็ได้

3. Working Voltage (WV)

Working Voltage จะระบุถึงแรงดันไฟฟ้าต่อเนื่องสูงสุดทั้ง DC หรือ AC  ซึ่งตัวเก็บประจุนั้นรับได้โดยไม่เกิดข้อผิดพลาดได้ตลอดอายุการใช้งาน ให้สังเกตที่ working voltage DC (WVDC) ที่พิมพ์ไว้บนตัวเก็บประจุ และระวังในเรื่องของค่าแรงดันไฟฟ้า AC และ DC ที่ไม่เท่ากัน รวมไปถึง working voltage ที่ใช้งานเกินนั้นเพราะอาจทำให้เกิดความผิดพลาดได้

4. ค่าความผิดพลาด Tolerance (±%)

ระดับค่าความผิดพลาดจะระบุว่าความจุไฟฟ้าจริงสามารถเปลี่ยนแปลงไปจากค่าที่ระบุได้มากน้อยแค่ไหน ซึ่งจะแสดงเป็นค่าบวกหรือลบในหน่วยพิโคฟารัด (±pF) สำหรับตัวเก็บประจุที่มีค่าต่ำและอยู่จะในหน่วยเปอร์เซ็นต์ (±%) ส่วนสำหรับตัวเก็บประจุที่มีค่าสูงกว่า ยกตัวอย่างเช่น ตัวเก็บประจุ 100µF ที่มีค่าความผิดพลาดที่ ±20% สามารถอยู่ในช่วงระหว่าง 80µF ถึง 120µF และก็ยังคงในของค่าความผิดพลาดอยู่

5. ค่ากระแสรั่วไหล (Leakage Current)

ตัวเก็บประจุมีกระแสไฟฟ้ารั่วที่เป็นกระแสไฟฟ้ากระแสตรงขนาดเล็กที่ไหลผ่านไดอิเล็กทริก ซึ่งกระแสไฟฟ้านี้อาจส่งผลต่อประสิทธิภาพของวงจรได้ในตัวเก็บประจุบางตัว เช่น ฟิล์มหรือฟอยล์จะมีความต้านทานฉนวนสูง (Rp) ในขณะที่ตัวอื่น ๆ อย่าง ตัวเก็บประจุแบบอิเล็กโทรลีติคจะมีกระแสไฟรั่วสูง

6. อุณหภูมิการทำงาน (T)

การเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิอาจส่งผลต่อค่าความจุของตัวเก็บประจุได้ซึ่งเป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติไดอิเล็กทริก ตรวจสอบให้แน่ใจว่าตัวเก็บประจุทำงานภายในช่วงอุณหภูมิที่กำหนดไว้ ซึ่งโดยทั่วไปแล้วจะอยู่ที่ -30°C ถึง +70°C เพราะความร้อนหรือความเย็นที่มีมากเกินไปอาจส่งผลต่อประสิทธิภาพการทำงานได้นั้นเอง

7. ค่าสัมประสิทธิ์อุณหภูมิ (Temperature Coefficient (TC))

ค่าสัมประสิทธิ์อุณหภูมิวัดถึงการเปลี่ยนแปลงในความจุที่อยู่ในช่วงอุณหภูมินั้น ๆ โดยแสดงเป็นส่วนต่อล้านต่อองศาเซนติเกรด (PPM/oC) หรือเป็นเปอร์เซ็นต์ของการเปลี่ยนแปลง ซึ่งตัวเก็บประจุบางตัวมีค่าสัมประสิทธิ์อุณหภูมิเป็นบวกหรือลบก็ได้ ในขณะที่ตัวอื่น ๆ ยังคงที่ตลอดช่วงอุณหภูมิที่กำหนด (ตัวเก็บประจุคลาส 1)

8. โพลาไรเซชัน (Polarization)

ตัวเก็บประจุแบบอิเล็กโทรลีติค เช่น อลูมิเนียมอิเล็กโทรลีติค จะต้องการขั้วที่ถูกต้อง อย่าลืมตรวจสอบให้แน่ใจว่าสายที่เป็นบวกเชื่อมต่อกับการเชื่อมต่อที่เป็นบวก และสายที่เป็นลบกับการเชื่อมต่อที่เป็นลบ หากผิดพลาดการโพลาไรเซชันสามารถที่จะก่อให้เกิดความล้มเหลวได้

9. Equivalent Series Resistance (ESR)

 ESR แสดงถึงความต้านทานไฟฟ้ากระแสสลับของตัวเก็บประจุที่ความถี่สูง ซึ่งรวมความต้านทานจากวัสดุไดอิเล็กทริก สายขั้วต่อ การเชื่อมต่อ และความต้านทานของแผ่นตัวนำของตัวเก็บประจุ  ESR นั้นมีผลต่อความสามารถของตัวเก็บประจุในการส่งผ่านกระแสไฟฟ้า โดยเฉพาะอย่างยิ่งในวงจรไฟฟ้าและวงจรสวิตซ์

10. ข้อควรระวังด้านความปลอดภัย

เมื่อต้องทำงานกับตัวเก็บประจุ โดยเฉพาะตัวที่มีขนาดใหญ่จะต้องใช้ความระมัดระวังอยู่เสมอ เนื่องจากตัวเก็บประจุขนาดใหญ่นั้นสามารถเก็บประจุไฟฟ้าจำนวนมากไว้ได้ ถึงแม้ว่าแหล่งจ่ายไฟนั้นจะถูกเอาออกแล้วก็ตาม ดังนั้นพยายามหลีกเลี่ยงการสัมผัสตัวนำของตัวเก็บประจุที่มีค่าความจุเกิน 0.1μF โดยปราศจากความรู้หรือผู้เชี่ยวชาญที่คอยช่วยเหลืออยู่ด้วย

การเข้าใจถึงคุณลักษณะของตัวเก็บประจุเหล่านี้เป็นสิ่งสำคัญในการเลือกตัวเก็บประจุที่เหมาะสมสำหรับวงจรอิเล็กทรอนิกส์ของคุณ ทั้งนี้เพื่อให้การทำงานนั้นปลอดภัยและมีประสิทธิภาพนั้นเอง

บทความที่เกี่ยวข้อง

บทความ
January 26, 2024

ลักษณะเฉพาะของตัวเก็บประจุ

การทำความเข้าใจในเรื่องของคุณลักษณะของตัวเก็บ ตระกูลของตัวเก็บประจุ ความจุไฟฟ้า แรงดัน ค่าความผิดพลาด กระแสไฟฟ้ารั่ว อุณหภูมิ โพลาไรเซชัน ESR และความปลอดภ

นักเขียนบทความ
by 
นักเขียนบทความ
ลักษณะเฉพาะของตัวเก็บประจุ

ลักษณะเฉพาะของตัวเก็บประจุ

การทำความเข้าใจในเรื่องของคุณลักษณะของตัวเก็บ ตระกูลของตัวเก็บประจุ ความจุไฟฟ้า แรงดัน ค่าความผิดพลาด กระแสไฟฟ้ารั่ว อุณหภูมิ โพลาไรเซชัน ESR และความปลอดภ

ลักษณะของตัวเก็บประจุและวิธีการแยกแยะประเภท

ตัวเก็บประจุมีลักษณะและข้อมูลจำเพาะเจาะจงที่หลากหลายซึ่งเป็นสิ่งสำคัญที่จะต้องทำความเข้าใจให้ดี หลายครั้งที่การอ่านข้อมูลบนตัวเก็บประจุดูจะเป็นเรื่องที่ท้าทายอยู่เหมือนกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อข้อมูลนั้น ๆ เกี่ยวข้องกับสีหรือรหัสตัวเลข เพื่อที่จะระบุคุณลักษณะเหล่านี้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ให้ปฏิบัติตามคำแนะนำดังต่อไปนี้

1. พิจารณาจากตระกูลของตัวเก็บประจุ   

เริ่มจากการระบุประเภทของตระกูลตัวเก็บประจุที่ทำมาจากเซรามิก ฟิล์ม พลาสติก อิเล็กโทรลีติค (electrolytic) โดยในขั้นนี้ช่วยให้คุณจำกัดลักษณะเฉพาะของตัวเก็บประจุให้แคบลงได้นั้นเอง

2. Nominal Capacitance (C)

 ค่าความจุที่เรียกว่า "C"  มีความสำคัญมาก ซึ่งมีหน่วยวัดเป็นพิโคฟารัด pico-Farads (pF) นาโนฟารัด nano-Farads (nF) หรือ ไมโครฟารัด micro-Farads (μF) และจะถูกทำสัญลักษณ์บนตัวของตัวเก็บประจุเป็นตัวเลข ตัวหนังสือ หรือแถบสี แล้วอย่าลืมว่าความจุจริงนั้นอาจแตกต่างกันไปจากค่าที่ระบุไว้ก็ได้

3. Working Voltage (WV)

Working Voltage จะระบุถึงแรงดันไฟฟ้าต่อเนื่องสูงสุดทั้ง DC หรือ AC  ซึ่งตัวเก็บประจุนั้นรับได้โดยไม่เกิดข้อผิดพลาดได้ตลอดอายุการใช้งาน ให้สังเกตที่ working voltage DC (WVDC) ที่พิมพ์ไว้บนตัวเก็บประจุ และระวังในเรื่องของค่าแรงดันไฟฟ้า AC และ DC ที่ไม่เท่ากัน รวมไปถึง working voltage ที่ใช้งานเกินนั้นเพราะอาจทำให้เกิดความผิดพลาดได้

4. ค่าความผิดพลาด Tolerance (±%)

ระดับค่าความผิดพลาดจะระบุว่าความจุไฟฟ้าจริงสามารถเปลี่ยนแปลงไปจากค่าที่ระบุได้มากน้อยแค่ไหน ซึ่งจะแสดงเป็นค่าบวกหรือลบในหน่วยพิโคฟารัด (±pF) สำหรับตัวเก็บประจุที่มีค่าต่ำและอยู่จะในหน่วยเปอร์เซ็นต์ (±%) ส่วนสำหรับตัวเก็บประจุที่มีค่าสูงกว่า ยกตัวอย่างเช่น ตัวเก็บประจุ 100µF ที่มีค่าความผิดพลาดที่ ±20% สามารถอยู่ในช่วงระหว่าง 80µF ถึง 120µF และก็ยังคงในของค่าความผิดพลาดอยู่

5. ค่ากระแสรั่วไหล (Leakage Current)

ตัวเก็บประจุมีกระแสไฟฟ้ารั่วที่เป็นกระแสไฟฟ้ากระแสตรงขนาดเล็กที่ไหลผ่านไดอิเล็กทริก ซึ่งกระแสไฟฟ้านี้อาจส่งผลต่อประสิทธิภาพของวงจรได้ในตัวเก็บประจุบางตัว เช่น ฟิล์มหรือฟอยล์จะมีความต้านทานฉนวนสูง (Rp) ในขณะที่ตัวอื่น ๆ อย่าง ตัวเก็บประจุแบบอิเล็กโทรลีติคจะมีกระแสไฟรั่วสูง

6. อุณหภูมิการทำงาน (T)

การเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิอาจส่งผลต่อค่าความจุของตัวเก็บประจุได้ซึ่งเป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติไดอิเล็กทริก ตรวจสอบให้แน่ใจว่าตัวเก็บประจุทำงานภายในช่วงอุณหภูมิที่กำหนดไว้ ซึ่งโดยทั่วไปแล้วจะอยู่ที่ -30°C ถึง +70°C เพราะความร้อนหรือความเย็นที่มีมากเกินไปอาจส่งผลต่อประสิทธิภาพการทำงานได้นั้นเอง

7. ค่าสัมประสิทธิ์อุณหภูมิ (Temperature Coefficient (TC))

ค่าสัมประสิทธิ์อุณหภูมิวัดถึงการเปลี่ยนแปลงในความจุที่อยู่ในช่วงอุณหภูมินั้น ๆ โดยแสดงเป็นส่วนต่อล้านต่อองศาเซนติเกรด (PPM/oC) หรือเป็นเปอร์เซ็นต์ของการเปลี่ยนแปลง ซึ่งตัวเก็บประจุบางตัวมีค่าสัมประสิทธิ์อุณหภูมิเป็นบวกหรือลบก็ได้ ในขณะที่ตัวอื่น ๆ ยังคงที่ตลอดช่วงอุณหภูมิที่กำหนด (ตัวเก็บประจุคลาส 1)

8. โพลาไรเซชัน (Polarization)

ตัวเก็บประจุแบบอิเล็กโทรลีติค เช่น อลูมิเนียมอิเล็กโทรลีติค จะต้องการขั้วที่ถูกต้อง อย่าลืมตรวจสอบให้แน่ใจว่าสายที่เป็นบวกเชื่อมต่อกับการเชื่อมต่อที่เป็นบวก และสายที่เป็นลบกับการเชื่อมต่อที่เป็นลบ หากผิดพลาดการโพลาไรเซชันสามารถที่จะก่อให้เกิดความล้มเหลวได้

9. Equivalent Series Resistance (ESR)

 ESR แสดงถึงความต้านทานไฟฟ้ากระแสสลับของตัวเก็บประจุที่ความถี่สูง ซึ่งรวมความต้านทานจากวัสดุไดอิเล็กทริก สายขั้วต่อ การเชื่อมต่อ และความต้านทานของแผ่นตัวนำของตัวเก็บประจุ  ESR นั้นมีผลต่อความสามารถของตัวเก็บประจุในการส่งผ่านกระแสไฟฟ้า โดยเฉพาะอย่างยิ่งในวงจรไฟฟ้าและวงจรสวิตซ์

10. ข้อควรระวังด้านความปลอดภัย

เมื่อต้องทำงานกับตัวเก็บประจุ โดยเฉพาะตัวที่มีขนาดใหญ่จะต้องใช้ความระมัดระวังอยู่เสมอ เนื่องจากตัวเก็บประจุขนาดใหญ่นั้นสามารถเก็บประจุไฟฟ้าจำนวนมากไว้ได้ ถึงแม้ว่าแหล่งจ่ายไฟนั้นจะถูกเอาออกแล้วก็ตาม ดังนั้นพยายามหลีกเลี่ยงการสัมผัสตัวนำของตัวเก็บประจุที่มีค่าความจุเกิน 0.1μF โดยปราศจากความรู้หรือผู้เชี่ยวชาญที่คอยช่วยเหลืออยู่ด้วย

การเข้าใจถึงคุณลักษณะของตัวเก็บประจุเหล่านี้เป็นสิ่งสำคัญในการเลือกตัวเก็บประจุที่เหมาะสมสำหรับวงจรอิเล็กทรอนิกส์ของคุณ ทั้งนี้เพื่อให้การทำงานนั้นปลอดภัยและมีประสิทธิภาพนั้นเอง

Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipiscing elit. Suspendisse varius enim in eros elementum tristique. Duis cursus, mi quis viverra ornare, eros dolor interdum nulla, ut commodo diam libero vitae erat. Aenean faucibus nibh et justo cursus id rutrum lorem imperdiet. Nunc ut sem vitae risus tristique posuere.

ลักษณะเฉพาะของตัวเก็บประจุ
บทความ
Jan 19, 2024

ลักษณะเฉพาะของตัวเก็บประจุ

การทำความเข้าใจในเรื่องของคุณลักษณะของตัวเก็บ ตระกูลของตัวเก็บประจุ ความจุไฟฟ้า แรงดัน ค่าความผิดพลาด กระแสไฟฟ้ารั่ว อุณหภูมิ โพลาไรเซชัน ESR และความปลอดภ

Lorem ipsum dolor amet consectetur adipiscing elit tortor massa arcu non.

ลักษณะของตัวเก็บประจุและวิธีการแยกแยะประเภท

ตัวเก็บประจุมีลักษณะและข้อมูลจำเพาะเจาะจงที่หลากหลายซึ่งเป็นสิ่งสำคัญที่จะต้องทำความเข้าใจให้ดี หลายครั้งที่การอ่านข้อมูลบนตัวเก็บประจุดูจะเป็นเรื่องที่ท้าทายอยู่เหมือนกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อข้อมูลนั้น ๆ เกี่ยวข้องกับสีหรือรหัสตัวเลข เพื่อที่จะระบุคุณลักษณะเหล่านี้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ให้ปฏิบัติตามคำแนะนำดังต่อไปนี้

1. พิจารณาจากตระกูลของตัวเก็บประจุ   

เริ่มจากการระบุประเภทของตระกูลตัวเก็บประจุที่ทำมาจากเซรามิก ฟิล์ม พลาสติก อิเล็กโทรลีติค (electrolytic) โดยในขั้นนี้ช่วยให้คุณจำกัดลักษณะเฉพาะของตัวเก็บประจุให้แคบลงได้นั้นเอง

2. Nominal Capacitance (C)

 ค่าความจุที่เรียกว่า "C"  มีความสำคัญมาก ซึ่งมีหน่วยวัดเป็นพิโคฟารัด pico-Farads (pF) นาโนฟารัด nano-Farads (nF) หรือ ไมโครฟารัด micro-Farads (μF) และจะถูกทำสัญลักษณ์บนตัวของตัวเก็บประจุเป็นตัวเลข ตัวหนังสือ หรือแถบสี แล้วอย่าลืมว่าความจุจริงนั้นอาจแตกต่างกันไปจากค่าที่ระบุไว้ก็ได้

3. Working Voltage (WV)

Working Voltage จะระบุถึงแรงดันไฟฟ้าต่อเนื่องสูงสุดทั้ง DC หรือ AC  ซึ่งตัวเก็บประจุนั้นรับได้โดยไม่เกิดข้อผิดพลาดได้ตลอดอายุการใช้งาน ให้สังเกตที่ working voltage DC (WVDC) ที่พิมพ์ไว้บนตัวเก็บประจุ และระวังในเรื่องของค่าแรงดันไฟฟ้า AC และ DC ที่ไม่เท่ากัน รวมไปถึง working voltage ที่ใช้งานเกินนั้นเพราะอาจทำให้เกิดความผิดพลาดได้

4. ค่าความผิดพลาด Tolerance (±%)

ระดับค่าความผิดพลาดจะระบุว่าความจุไฟฟ้าจริงสามารถเปลี่ยนแปลงไปจากค่าที่ระบุได้มากน้อยแค่ไหน ซึ่งจะแสดงเป็นค่าบวกหรือลบในหน่วยพิโคฟารัด (±pF) สำหรับตัวเก็บประจุที่มีค่าต่ำและอยู่จะในหน่วยเปอร์เซ็นต์ (±%) ส่วนสำหรับตัวเก็บประจุที่มีค่าสูงกว่า ยกตัวอย่างเช่น ตัวเก็บประจุ 100µF ที่มีค่าความผิดพลาดที่ ±20% สามารถอยู่ในช่วงระหว่าง 80µF ถึง 120µF และก็ยังคงในของค่าความผิดพลาดอยู่

5. ค่ากระแสรั่วไหล (Leakage Current)

ตัวเก็บประจุมีกระแสไฟฟ้ารั่วที่เป็นกระแสไฟฟ้ากระแสตรงขนาดเล็กที่ไหลผ่านไดอิเล็กทริก ซึ่งกระแสไฟฟ้านี้อาจส่งผลต่อประสิทธิภาพของวงจรได้ในตัวเก็บประจุบางตัว เช่น ฟิล์มหรือฟอยล์จะมีความต้านทานฉนวนสูง (Rp) ในขณะที่ตัวอื่น ๆ อย่าง ตัวเก็บประจุแบบอิเล็กโทรลีติคจะมีกระแสไฟรั่วสูง

6. อุณหภูมิการทำงาน (T)

การเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิอาจส่งผลต่อค่าความจุของตัวเก็บประจุได้ซึ่งเป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติไดอิเล็กทริก ตรวจสอบให้แน่ใจว่าตัวเก็บประจุทำงานภายในช่วงอุณหภูมิที่กำหนดไว้ ซึ่งโดยทั่วไปแล้วจะอยู่ที่ -30°C ถึง +70°C เพราะความร้อนหรือความเย็นที่มีมากเกินไปอาจส่งผลต่อประสิทธิภาพการทำงานได้นั้นเอง

7. ค่าสัมประสิทธิ์อุณหภูมิ (Temperature Coefficient (TC))

ค่าสัมประสิทธิ์อุณหภูมิวัดถึงการเปลี่ยนแปลงในความจุที่อยู่ในช่วงอุณหภูมินั้น ๆ โดยแสดงเป็นส่วนต่อล้านต่อองศาเซนติเกรด (PPM/oC) หรือเป็นเปอร์เซ็นต์ของการเปลี่ยนแปลง ซึ่งตัวเก็บประจุบางตัวมีค่าสัมประสิทธิ์อุณหภูมิเป็นบวกหรือลบก็ได้ ในขณะที่ตัวอื่น ๆ ยังคงที่ตลอดช่วงอุณหภูมิที่กำหนด (ตัวเก็บประจุคลาส 1)

8. โพลาไรเซชัน (Polarization)

ตัวเก็บประจุแบบอิเล็กโทรลีติค เช่น อลูมิเนียมอิเล็กโทรลีติค จะต้องการขั้วที่ถูกต้อง อย่าลืมตรวจสอบให้แน่ใจว่าสายที่เป็นบวกเชื่อมต่อกับการเชื่อมต่อที่เป็นบวก และสายที่เป็นลบกับการเชื่อมต่อที่เป็นลบ หากผิดพลาดการโพลาไรเซชันสามารถที่จะก่อให้เกิดความล้มเหลวได้

9. Equivalent Series Resistance (ESR)

 ESR แสดงถึงความต้านทานไฟฟ้ากระแสสลับของตัวเก็บประจุที่ความถี่สูง ซึ่งรวมความต้านทานจากวัสดุไดอิเล็กทริก สายขั้วต่อ การเชื่อมต่อ และความต้านทานของแผ่นตัวนำของตัวเก็บประจุ  ESR นั้นมีผลต่อความสามารถของตัวเก็บประจุในการส่งผ่านกระแสไฟฟ้า โดยเฉพาะอย่างยิ่งในวงจรไฟฟ้าและวงจรสวิตซ์

10. ข้อควรระวังด้านความปลอดภัย

เมื่อต้องทำงานกับตัวเก็บประจุ โดยเฉพาะตัวที่มีขนาดใหญ่จะต้องใช้ความระมัดระวังอยู่เสมอ เนื่องจากตัวเก็บประจุขนาดใหญ่นั้นสามารถเก็บประจุไฟฟ้าจำนวนมากไว้ได้ ถึงแม้ว่าแหล่งจ่ายไฟนั้นจะถูกเอาออกแล้วก็ตาม ดังนั้นพยายามหลีกเลี่ยงการสัมผัสตัวนำของตัวเก็บประจุที่มีค่าความจุเกิน 0.1μF โดยปราศจากความรู้หรือผู้เชี่ยวชาญที่คอยช่วยเหลืออยู่ด้วย

การเข้าใจถึงคุณลักษณะของตัวเก็บประจุเหล่านี้เป็นสิ่งสำคัญในการเลือกตัวเก็บประจุที่เหมาะสมสำหรับวงจรอิเล็กทรอนิกส์ของคุณ ทั้งนี้เพื่อให้การทำงานนั้นปลอดภัยและมีประสิทธิภาพนั้นเอง

Related articles