การทดสอบก่อนปฎิบัติตามข้อกำหนด EMC: แนวทางปฏิบัติที่ดีที่สุดและ ข้อผิดพลาดที่พบบ่อย

บทความนี้จะกล่าวถึงความเข้ากันได้ทางแม่เหล็กไฟฟ้า (EMC) ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญในการออกแบบอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์

การทดสอบก่อนปฎิบัติตามข้อกำหนด EMC: แนวทางปฏิบัติที่ดีที่สุดและ ข้อผิดพลาดที่พบบ่อย

ความเข้ากันได้ทางแม่เหล็กไฟฟ้า (EMC: Electromagnetic Compatibility) เป็นปัจจัยสำคัญในการออกแบบอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ จุดประสงค์คือการทำให้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์สามารถทำงานร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพในสภาพแวดล้อมที่มีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าและตอบสนองต่อการใช้งานที่มีความต้องการสูง ในขณะเดียวกันก็สามารถลดสัญญาณรบกวนจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (EMI: Electromagnetic Interference) ต่ออุปกรณ์อื่นให้เหลือน้อยที่สุด การปฏิบัติตามข้อกำหนดหรือมาตรฐาน EMC เป็นสิ่งสำคัญในการสร้างความน่าเชื่อถือและความมั่นใจในการใช้งานอุปกรณ์นั้น ๆ ตลอดจนรักษาความพึงพอใจของผู้ใช้งานได้ ด้วยเหตุนี้จึงต้องมีการกำหนดแนวทางปฏิบัติที่ดีที่สุดในการออกแบบอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ให้เป็นไปตามข้อกำหนด EMC และเน้นย้ำถึงข้อผิดพลาดทั่วไปหรือปัญหาที่ควรหลีกเลี่ยง

การปฏิบัติตามข้อกำหนด EMC เป็นเรื่องสำคัญในกระบวนการออกแบบอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้สามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพในสภาพแวดล้อมที่มีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า เกี่ยวข้องกับประเด็นสำคัญ 2 ประการ  คือ

1.การปล่อยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า: การตรวจสอบว่าอุปกรณ์ไม่ได้ปล่อยพลังงานแม่เหล็กไฟฟ้าเกินกว่าระดับที่ยอมรับได้

2.การป้องกันคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า: การตรวจสอบว่าอุปกรณ์สามารถทำงานได้อย่างถูกต้อง แม้จะได้รับพลังงานแม่เหล็กไฟฟ้าจากแหล่งพลังงานภายนอก

โดยทั่วไปจะมีมาตรฐานมากำกับดูแล เช่น มาตรฐานที่กำหนดโดย FCC CISPR และ IEC ด้วยการกำหนดข้อจำกัดและขั้นตอนการทดสอบต่างๆ สำหรับการปฏิบัติตาม EMC ดังนั้นการออกแบบอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ จึงต้องคำนึงถึง มาตรการด้าน EMC ตั้งแต่การเริ่มต้นการผลิต ซึ่งมีประโยชน์ในการช่วยลดต้นทุนการผลิตตั้งแต่ต้น ลดระยะเวลาในการนำออกสู่ตลาดและหลีกเลี่ยงการนำกลับมาออกแบบใหม่อีกครั้งที่อาจจะมีค่าใช้จ่ายสูงขึ้น

แนวทางปฏิบัติที่ดีที่สุดตามข้อกำหนด EMC สำหรับการออกแบบอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์

1. การออกแบบและเค้าโครง PCB

โครงร่างและตำแหน่งของชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์บนแผงวงจร (PCB) มีผลต่อประสิทธิภาพ EMC ดังนั้น การออกแบบที่ดีจะช่วยลดการกวนกันของสัญญาณและเพิ่มประสิทธิภาพการป้องกันได้:

- การติดตั้งแผงกราวด์หรือสายดิน ใช้กราวด์ที่ต่อเนื่องกันเป็นแผ่นระนาบเดียวกันและต้องมีความมั่นคงการวางบนแผง PCB เพื่อลดค่าอิมพีแดนซ์และทำให้สัญญาณไหลได้ครบวงจร นอกจากนี้คือการหลีกเลี่ยงการใช้กราวด์แบบแยกส่วน เว้นแต่มีความจำเป็นอย่างยิ่ง และให้แน่ใจว่ามีการเชื่อมต่อกราวด์อย่างเหมาะสมเมื่อเกิดการแยกส่วนกัน

- การกำหนดเส้นทางของสายสัญญาณ โดยการลดความยาวของสายสัญญาณความเร็วสูงเพื่อลดการแพร่คลื่น และการใช้คู่สัญญาณที่แตกต่างกันสำหรับสายสัญญาณที่มีความเร็วสูงเพื่อให้มีการป้องกันสัญญาณรบกวนกันดีขึ้น ตลอดจนการกำหนดเส้นทางของสายสัญญาณโดยตรง ให้อยู่เหนือแผงกราวด์เพื่อลดพื้นที่ของลูปสัญญาณและการแพร่คลื่น

- การวางตัวเก็บประจุ วางตัวเก็บประจุแบบแยกส่วนให้ใกล้กับพินของตัวจ่ายไฟหรือพลังงานของ ICให้มากที่สุด เพื่อให้สามารถกรองสัญญาณรบกวนความถี่สูงได้อย่างมีประสิทธิภาพ

- การมีระยะห่างระหว่างสัญญาณ รักษาระยะห่างที่เหมาะสมระหว่างสายสัญญาณอนาล็อก ดิจิทัล และสายตัวจ่ายไฟ เพื่อลดสัญญาณรบกวน (Crosstalk) และสัญญาณรบกวนอื่นๆ

2. การป้องกันและการห่อหุ้ม

การป้องกันที่มีประสิทธิภาพจะช่วยปกป้องอุปกรณ์จากการสิ่งรบกวนจากภายนอกหรืออีกทางนึงคือการป้องกันไม่ให้มีการปล่อยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าออกมา:

-การหุ้มตัวนำ ใช้การหุ้มโลหะหรือพลาสติกเคลือบตัวนำเพื่อปิดกั้นการแพร่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

-การชิลสายเคเบิล ใช้สายเคเบิลที่มีฉนวนป้องกันสำหรับสายสัญญาณและไฟฟ้า และให้แน่ใจว่ามีการต่อสายดินของฉนวนป้องกันสายเคเบิลอย่างถูกต้องเพื่อหลีกเลี่ยงไม่ให้สายนั้นทำหน้าที่เป็นสายอากาศแทน

- การจัดการตะเข็บหรือรอยต่อ ลดช่องว่างและตะเข็บในการหุ้มให้เหลือน้อยที่สุดเพื่อหลีกเลี่ยงการรั่วไหลของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

3. การออกแบบแหล่งจ่ายไฟ

แหล่งจ่ายไฟที่มีสัญญาณรบกวนอาจส่งผลต่อประสิทธิภาพของ EMC:

ตัวกรอง: การใช้ตัวกรอง LC หรือ RC บนสายไฟเพื่อลดสัญญาณรบกวนที่ส่งมาตามสายสัญญาณ

ความสมบูรณ์ของพลังงาน (Signal Integrity): ให้แน่ใจว่าจ่ายพลังงานอย่างมีเสถียรภาพโดยใช้ตัวเก็บประจุบายพาส (Bypass) และตัวเก็บประจุ (Bulk) ที่เหมาะสมในการออกแบบ

ตัวควบคุมการสลับ (Switching): สำหรับแหล่งจ่ายไฟแบบสวิตช์สับเปลี่ยนการจ่ายไฟ ให้ลดสัญญาณรบกวนจากการสลับโดยปรับเค้าโครงหรือเลย์เอาต์ให้เหมาะสมและใช้วงจรสนับเบอร์เพื่อป้องกันแรงดันกระโชก

4. การเลือกส่วนประกอบอิเล็กทรอนิกส์อย่างเหมาะสม

การเลือกส่วนประกอบอิเล็กทรอนิกส์ที่เหมาะสมส่งผลต่อทั้งการปล่อยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าและการป้องกันการกวนกันของสัญญาณ:

การใช้ส่วนประกอบอิเล็กทรอนิกส์ที่มีค่า EMI ต่ำ เลือกส่วนประกอบที่มีค่า EMI ต่ำ

การใช้ออสซิลเลเตอร์เวลา (Clock Oscillators) เลือกออสซิลเลเตอร์ที่มีสัญญาณรบกวนเฟสต่ำและฮาร์มอนิกที่น้อยเพื่อลดการปล่อยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่เกินจำเป็น

การเลือกใช้ขั้วหรือหัวต่อ (Connector) ที่มีการจัดการด้าน EMC ใช้หัวต่อที่ออกแบบมาสำหรับการใช้งาน EMC เพื่อเพิ่มการการป้องกัน EMI หรือการหุ้มฉนวนแทนได้

5. การทดสอบควรจะกระทำตั้งแต่ในระยะเริ่มต้นการออกแบบและทดสอบแบบซ้ำไปซ้ำมา

การทดสอบจะช่วยตรวจสอบปัญหาก่อนการผลิตและช่วยยืนยันความสอดคล้องกับข้อกำหนด EMC:

การทดสอบก่อนปฏิบัติตามข้อกำหนด: ใช้โพรบแบบระยะ( Near Field) พร้อมเครื่องวิเคราะห์สเปกตรัม และห้องปฏิบัติการสำหรับ EMC เพื่อทดสอบการปล่อยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าและการป้องกันต่างๆในแต่ละขั้นตอนในการพัฒนาออกแบบ

เครื่องมือในการจำลอง(Simulation): ใช้ซอฟต์แวร์จำลอง EMC เพื่อคาดการณ์และแก้ไขปัญหาที่อาจเกิดขึ้นก่อนสร้างตัวต้นแบบทางกายภาพ (Physical Prototype)

การทดสอบแบบวนซ้ำ: ตรวจสอบประสิทธิภาพของ EMC ด้วยการทดสอบซ้ำเพื่อให้แน่ใจว่าการออกแบบเป็นไปตามข้อกำหนด

ปัญหาข้อผิดพลาดที่พบบ่อยในการการออกแบบอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้เป็นไปตามข้อกำหนด EMC

1. ละเลยหลักการต่อสายดินหรือการลงกราวด์

การต่อลงดินที่ไม่เหมาะสมเป็นสาเหตุที่พบบ่อยของปัญหา EMC แผ่นกราวด์ที่ลอยหรือไม่ต่อเนื่องทำให้เกิดลูปกราวด์ ซึ่งนำไปสู่การแพร่คลื่นมากเกินไปและไวต่อสัญญาณรบกวน ดังนั้นจึงควรตรวจสอบให้แน่ใจว่าแผ่นกราวด์มีความแข็งแรงและเชื่อมต่อกันได้ดีตลอดทาง

2. มองข้ามความสมบูรณ์ของสัญญาณ (Signal Integrity)

การออกแบบเส้นทางสายสัญญาณที่ไม่ดีและการแยกสัญญาณที่ระยะไม่เพียงพออาจทำให้เกิดการรบกวนกันข้ามสาย (Crosstalk) และลดคุณภาพสัญญาณ ควรหลีกเลี่ยงการออกแบบเส้นทางสายสัญญาณที่อยู่ใกล้กับสายไฟที่มีสัญญาณรบกวนหรือสัญญาณความเร็วสูง

3. การป้องกันที่ไม่เพียงพอ

การป้องกันที่ไม่เหมาะสมอาจทำให้ไม่สามารถป้องกัน EMI ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น การใช้กล่องหรือฉนวนที่มีช่องว่างหรือรอยต่อขนาดใหญ่ หรือการไม่ต่อลงดินอย่างถูกต้อง ควรให้ความสำคัญกับเส้นทางการเชื่อมต่อสายและรูระบายอากาศที่สามารถนำไปสู่การรั่วไหลของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

4. สัญญาณรบกวนจากแหล่งจ่ายไฟ

สัญญาณรบกวนจากตัวควบคุมการสลับ (Switching) หรือแหล่งจ่ายไฟที่กรองไม่ดีอาจทำให้เกิดปัญหาการปล่อยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (EMI) ควรตรวจสอบให้แน่ใจว่าใช้เทคนิคการกรองที่เหมาะสม เช่น การเลือกตัวกรองที่เหมาะสมในวงจรจ่ายไฟ

5. การแก้ไข EMC ในนาทีสุดท้าย

การพยายามแก้ไขปัญหาทาง EMC ในช่วงท้ายของการออกแบบวงจรมักจะทำให้วิธีการแก้ปัญหาที่ไม่เหมาะสม เช่น การใช้ลูกปัดเฟอร์ไรต์ (Ferrite Beads) หรือฟิลเตอร์ภายหลังเพื่อป้องกันการกวนกันของสายไฟ โดยไม่ได้แก้ไขสาเหตุที่แท้จริง ทำให้เพิ่มต้นทุนและความซับซ้อนในการออกแบบ

การทดสอบก่อนปฎิบัติตามข้อกำหนด EMC: แนวทางปฏิบัติที่ดีที่สุดและ ข้อผิดพลาดที่พบบ่อย

บทความนี้จะกล่าวถึงความเข้ากันได้ทางแม่เหล็กไฟฟ้า (EMC) ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญในการออกแบบอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์

นักเขียนบทความ
by 
นักเขียนบทความ
การทดสอบก่อนปฎิบัติตามข้อกำหนด EMC: แนวทางปฏิบัติที่ดีที่สุดและ ข้อผิดพลาดที่พบบ่อย

การทดสอบก่อนปฎิบัติตามข้อกำหนด EMC: แนวทางปฏิบัติที่ดีที่สุดและ ข้อผิดพลาดที่พบบ่อย

บทความนี้จะกล่าวถึงความเข้ากันได้ทางแม่เหล็กไฟฟ้า (EMC) ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญในการออกแบบอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์

ความเข้ากันได้ทางแม่เหล็กไฟฟ้า (EMC: Electromagnetic Compatibility) เป็นปัจจัยสำคัญในการออกแบบอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ จุดประสงค์คือการทำให้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์สามารถทำงานร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพในสภาพแวดล้อมที่มีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าและตอบสนองต่อการใช้งานที่มีความต้องการสูง ในขณะเดียวกันก็สามารถลดสัญญาณรบกวนจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (EMI: Electromagnetic Interference) ต่ออุปกรณ์อื่นให้เหลือน้อยที่สุด การปฏิบัติตามข้อกำหนดหรือมาตรฐาน EMC เป็นสิ่งสำคัญในการสร้างความน่าเชื่อถือและความมั่นใจในการใช้งานอุปกรณ์นั้น ๆ ตลอดจนรักษาความพึงพอใจของผู้ใช้งานได้ ด้วยเหตุนี้จึงต้องมีการกำหนดแนวทางปฏิบัติที่ดีที่สุดในการออกแบบอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ให้เป็นไปตามข้อกำหนด EMC และเน้นย้ำถึงข้อผิดพลาดทั่วไปหรือปัญหาที่ควรหลีกเลี่ยง

การปฏิบัติตามข้อกำหนด EMC เป็นเรื่องสำคัญในกระบวนการออกแบบอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้สามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพในสภาพแวดล้อมที่มีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า เกี่ยวข้องกับประเด็นสำคัญ 2 ประการ  คือ

1.การปล่อยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า: การตรวจสอบว่าอุปกรณ์ไม่ได้ปล่อยพลังงานแม่เหล็กไฟฟ้าเกินกว่าระดับที่ยอมรับได้

2.การป้องกันคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า: การตรวจสอบว่าอุปกรณ์สามารถทำงานได้อย่างถูกต้อง แม้จะได้รับพลังงานแม่เหล็กไฟฟ้าจากแหล่งพลังงานภายนอก

โดยทั่วไปจะมีมาตรฐานมากำกับดูแล เช่น มาตรฐานที่กำหนดโดย FCC CISPR และ IEC ด้วยการกำหนดข้อจำกัดและขั้นตอนการทดสอบต่างๆ สำหรับการปฏิบัติตาม EMC ดังนั้นการออกแบบอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ จึงต้องคำนึงถึง มาตรการด้าน EMC ตั้งแต่การเริ่มต้นการผลิต ซึ่งมีประโยชน์ในการช่วยลดต้นทุนการผลิตตั้งแต่ต้น ลดระยะเวลาในการนำออกสู่ตลาดและหลีกเลี่ยงการนำกลับมาออกแบบใหม่อีกครั้งที่อาจจะมีค่าใช้จ่ายสูงขึ้น

แนวทางปฏิบัติที่ดีที่สุดตามข้อกำหนด EMC สำหรับการออกแบบอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์

1. การออกแบบและเค้าโครง PCB

โครงร่างและตำแหน่งของชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์บนแผงวงจร (PCB) มีผลต่อประสิทธิภาพ EMC ดังนั้น การออกแบบที่ดีจะช่วยลดการกวนกันของสัญญาณและเพิ่มประสิทธิภาพการป้องกันได้:

- การติดตั้งแผงกราวด์หรือสายดิน ใช้กราวด์ที่ต่อเนื่องกันเป็นแผ่นระนาบเดียวกันและต้องมีความมั่นคงการวางบนแผง PCB เพื่อลดค่าอิมพีแดนซ์และทำให้สัญญาณไหลได้ครบวงจร นอกจากนี้คือการหลีกเลี่ยงการใช้กราวด์แบบแยกส่วน เว้นแต่มีความจำเป็นอย่างยิ่ง และให้แน่ใจว่ามีการเชื่อมต่อกราวด์อย่างเหมาะสมเมื่อเกิดการแยกส่วนกัน

- การกำหนดเส้นทางของสายสัญญาณ โดยการลดความยาวของสายสัญญาณความเร็วสูงเพื่อลดการแพร่คลื่น และการใช้คู่สัญญาณที่แตกต่างกันสำหรับสายสัญญาณที่มีความเร็วสูงเพื่อให้มีการป้องกันสัญญาณรบกวนกันดีขึ้น ตลอดจนการกำหนดเส้นทางของสายสัญญาณโดยตรง ให้อยู่เหนือแผงกราวด์เพื่อลดพื้นที่ของลูปสัญญาณและการแพร่คลื่น

- การวางตัวเก็บประจุ วางตัวเก็บประจุแบบแยกส่วนให้ใกล้กับพินของตัวจ่ายไฟหรือพลังงานของ ICให้มากที่สุด เพื่อให้สามารถกรองสัญญาณรบกวนความถี่สูงได้อย่างมีประสิทธิภาพ

- การมีระยะห่างระหว่างสัญญาณ รักษาระยะห่างที่เหมาะสมระหว่างสายสัญญาณอนาล็อก ดิจิทัล และสายตัวจ่ายไฟ เพื่อลดสัญญาณรบกวน (Crosstalk) และสัญญาณรบกวนอื่นๆ

2. การป้องกันและการห่อหุ้ม

การป้องกันที่มีประสิทธิภาพจะช่วยปกป้องอุปกรณ์จากการสิ่งรบกวนจากภายนอกหรืออีกทางนึงคือการป้องกันไม่ให้มีการปล่อยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าออกมา:

-การหุ้มตัวนำ ใช้การหุ้มโลหะหรือพลาสติกเคลือบตัวนำเพื่อปิดกั้นการแพร่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

-การชิลสายเคเบิล ใช้สายเคเบิลที่มีฉนวนป้องกันสำหรับสายสัญญาณและไฟฟ้า และให้แน่ใจว่ามีการต่อสายดินของฉนวนป้องกันสายเคเบิลอย่างถูกต้องเพื่อหลีกเลี่ยงไม่ให้สายนั้นทำหน้าที่เป็นสายอากาศแทน

- การจัดการตะเข็บหรือรอยต่อ ลดช่องว่างและตะเข็บในการหุ้มให้เหลือน้อยที่สุดเพื่อหลีกเลี่ยงการรั่วไหลของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

3. การออกแบบแหล่งจ่ายไฟ

แหล่งจ่ายไฟที่มีสัญญาณรบกวนอาจส่งผลต่อประสิทธิภาพของ EMC:

ตัวกรอง: การใช้ตัวกรอง LC หรือ RC บนสายไฟเพื่อลดสัญญาณรบกวนที่ส่งมาตามสายสัญญาณ

ความสมบูรณ์ของพลังงาน (Signal Integrity): ให้แน่ใจว่าจ่ายพลังงานอย่างมีเสถียรภาพโดยใช้ตัวเก็บประจุบายพาส (Bypass) และตัวเก็บประจุ (Bulk) ที่เหมาะสมในการออกแบบ

ตัวควบคุมการสลับ (Switching): สำหรับแหล่งจ่ายไฟแบบสวิตช์สับเปลี่ยนการจ่ายไฟ ให้ลดสัญญาณรบกวนจากการสลับโดยปรับเค้าโครงหรือเลย์เอาต์ให้เหมาะสมและใช้วงจรสนับเบอร์เพื่อป้องกันแรงดันกระโชก

4. การเลือกส่วนประกอบอิเล็กทรอนิกส์อย่างเหมาะสม

การเลือกส่วนประกอบอิเล็กทรอนิกส์ที่เหมาะสมส่งผลต่อทั้งการปล่อยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าและการป้องกันการกวนกันของสัญญาณ:

การใช้ส่วนประกอบอิเล็กทรอนิกส์ที่มีค่า EMI ต่ำ เลือกส่วนประกอบที่มีค่า EMI ต่ำ

การใช้ออสซิลเลเตอร์เวลา (Clock Oscillators) เลือกออสซิลเลเตอร์ที่มีสัญญาณรบกวนเฟสต่ำและฮาร์มอนิกที่น้อยเพื่อลดการปล่อยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่เกินจำเป็น

การเลือกใช้ขั้วหรือหัวต่อ (Connector) ที่มีการจัดการด้าน EMC ใช้หัวต่อที่ออกแบบมาสำหรับการใช้งาน EMC เพื่อเพิ่มการการป้องกัน EMI หรือการหุ้มฉนวนแทนได้

5. การทดสอบควรจะกระทำตั้งแต่ในระยะเริ่มต้นการออกแบบและทดสอบแบบซ้ำไปซ้ำมา

การทดสอบจะช่วยตรวจสอบปัญหาก่อนการผลิตและช่วยยืนยันความสอดคล้องกับข้อกำหนด EMC:

การทดสอบก่อนปฏิบัติตามข้อกำหนด: ใช้โพรบแบบระยะ( Near Field) พร้อมเครื่องวิเคราะห์สเปกตรัม และห้องปฏิบัติการสำหรับ EMC เพื่อทดสอบการปล่อยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าและการป้องกันต่างๆในแต่ละขั้นตอนในการพัฒนาออกแบบ

เครื่องมือในการจำลอง(Simulation): ใช้ซอฟต์แวร์จำลอง EMC เพื่อคาดการณ์และแก้ไขปัญหาที่อาจเกิดขึ้นก่อนสร้างตัวต้นแบบทางกายภาพ (Physical Prototype)

การทดสอบแบบวนซ้ำ: ตรวจสอบประสิทธิภาพของ EMC ด้วยการทดสอบซ้ำเพื่อให้แน่ใจว่าการออกแบบเป็นไปตามข้อกำหนด

ปัญหาข้อผิดพลาดที่พบบ่อยในการการออกแบบอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้เป็นไปตามข้อกำหนด EMC

1. ละเลยหลักการต่อสายดินหรือการลงกราวด์

การต่อลงดินที่ไม่เหมาะสมเป็นสาเหตุที่พบบ่อยของปัญหา EMC แผ่นกราวด์ที่ลอยหรือไม่ต่อเนื่องทำให้เกิดลูปกราวด์ ซึ่งนำไปสู่การแพร่คลื่นมากเกินไปและไวต่อสัญญาณรบกวน ดังนั้นจึงควรตรวจสอบให้แน่ใจว่าแผ่นกราวด์มีความแข็งแรงและเชื่อมต่อกันได้ดีตลอดทาง

2. มองข้ามความสมบูรณ์ของสัญญาณ (Signal Integrity)

การออกแบบเส้นทางสายสัญญาณที่ไม่ดีและการแยกสัญญาณที่ระยะไม่เพียงพออาจทำให้เกิดการรบกวนกันข้ามสาย (Crosstalk) และลดคุณภาพสัญญาณ ควรหลีกเลี่ยงการออกแบบเส้นทางสายสัญญาณที่อยู่ใกล้กับสายไฟที่มีสัญญาณรบกวนหรือสัญญาณความเร็วสูง

3. การป้องกันที่ไม่เพียงพอ

การป้องกันที่ไม่เหมาะสมอาจทำให้ไม่สามารถป้องกัน EMI ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น การใช้กล่องหรือฉนวนที่มีช่องว่างหรือรอยต่อขนาดใหญ่ หรือการไม่ต่อลงดินอย่างถูกต้อง ควรให้ความสำคัญกับเส้นทางการเชื่อมต่อสายและรูระบายอากาศที่สามารถนำไปสู่การรั่วไหลของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

4. สัญญาณรบกวนจากแหล่งจ่ายไฟ

สัญญาณรบกวนจากตัวควบคุมการสลับ (Switching) หรือแหล่งจ่ายไฟที่กรองไม่ดีอาจทำให้เกิดปัญหาการปล่อยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (EMI) ควรตรวจสอบให้แน่ใจว่าใช้เทคนิคการกรองที่เหมาะสม เช่น การเลือกตัวกรองที่เหมาะสมในวงจรจ่ายไฟ

5. การแก้ไข EMC ในนาทีสุดท้าย

การพยายามแก้ไขปัญหาทาง EMC ในช่วงท้ายของการออกแบบวงจรมักจะทำให้วิธีการแก้ปัญหาที่ไม่เหมาะสม เช่น การใช้ลูกปัดเฟอร์ไรต์ (Ferrite Beads) หรือฟิลเตอร์ภายหลังเพื่อป้องกันการกวนกันของสายไฟ โดยไม่ได้แก้ไขสาเหตุที่แท้จริง ทำให้เพิ่มต้นทุนและความซับซ้อนในการออกแบบ

Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipiscing elit. Suspendisse varius enim in eros elementum tristique. Duis cursus, mi quis viverra ornare, eros dolor interdum nulla, ut commodo diam libero vitae erat. Aenean faucibus nibh et justo cursus id rutrum lorem imperdiet. Nunc ut sem vitae risus tristique posuere.

การทดสอบก่อนปฎิบัติตามข้อกำหนด EMC: แนวทางปฏิบัติที่ดีที่สุดและ ข้อผิดพลาดที่พบบ่อย

การทดสอบก่อนปฎิบัติตามข้อกำหนด EMC: แนวทางปฏิบัติที่ดีที่สุดและ ข้อผิดพลาดที่พบบ่อย

บทความนี้จะกล่าวถึงความเข้ากันได้ทางแม่เหล็กไฟฟ้า (EMC) ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญในการออกแบบอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์

Lorem ipsum dolor amet consectetur adipiscing elit tortor massa arcu non.

ความเข้ากันได้ทางแม่เหล็กไฟฟ้า (EMC: Electromagnetic Compatibility) เป็นปัจจัยสำคัญในการออกแบบอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ จุดประสงค์คือการทำให้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์สามารถทำงานร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพในสภาพแวดล้อมที่มีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าและตอบสนองต่อการใช้งานที่มีความต้องการสูง ในขณะเดียวกันก็สามารถลดสัญญาณรบกวนจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (EMI: Electromagnetic Interference) ต่ออุปกรณ์อื่นให้เหลือน้อยที่สุด การปฏิบัติตามข้อกำหนดหรือมาตรฐาน EMC เป็นสิ่งสำคัญในการสร้างความน่าเชื่อถือและความมั่นใจในการใช้งานอุปกรณ์นั้น ๆ ตลอดจนรักษาความพึงพอใจของผู้ใช้งานได้ ด้วยเหตุนี้จึงต้องมีการกำหนดแนวทางปฏิบัติที่ดีที่สุดในการออกแบบอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ให้เป็นไปตามข้อกำหนด EMC และเน้นย้ำถึงข้อผิดพลาดทั่วไปหรือปัญหาที่ควรหลีกเลี่ยง

การปฏิบัติตามข้อกำหนด EMC เป็นเรื่องสำคัญในกระบวนการออกแบบอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้สามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพในสภาพแวดล้อมที่มีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า เกี่ยวข้องกับประเด็นสำคัญ 2 ประการ  คือ

1.การปล่อยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า: การตรวจสอบว่าอุปกรณ์ไม่ได้ปล่อยพลังงานแม่เหล็กไฟฟ้าเกินกว่าระดับที่ยอมรับได้

2.การป้องกันคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า: การตรวจสอบว่าอุปกรณ์สามารถทำงานได้อย่างถูกต้อง แม้จะได้รับพลังงานแม่เหล็กไฟฟ้าจากแหล่งพลังงานภายนอก

โดยทั่วไปจะมีมาตรฐานมากำกับดูแล เช่น มาตรฐานที่กำหนดโดย FCC CISPR และ IEC ด้วยการกำหนดข้อจำกัดและขั้นตอนการทดสอบต่างๆ สำหรับการปฏิบัติตาม EMC ดังนั้นการออกแบบอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ จึงต้องคำนึงถึง มาตรการด้าน EMC ตั้งแต่การเริ่มต้นการผลิต ซึ่งมีประโยชน์ในการช่วยลดต้นทุนการผลิตตั้งแต่ต้น ลดระยะเวลาในการนำออกสู่ตลาดและหลีกเลี่ยงการนำกลับมาออกแบบใหม่อีกครั้งที่อาจจะมีค่าใช้จ่ายสูงขึ้น

แนวทางปฏิบัติที่ดีที่สุดตามข้อกำหนด EMC สำหรับการออกแบบอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์

1. การออกแบบและเค้าโครง PCB

โครงร่างและตำแหน่งของชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์บนแผงวงจร (PCB) มีผลต่อประสิทธิภาพ EMC ดังนั้น การออกแบบที่ดีจะช่วยลดการกวนกันของสัญญาณและเพิ่มประสิทธิภาพการป้องกันได้:

- การติดตั้งแผงกราวด์หรือสายดิน ใช้กราวด์ที่ต่อเนื่องกันเป็นแผ่นระนาบเดียวกันและต้องมีความมั่นคงการวางบนแผง PCB เพื่อลดค่าอิมพีแดนซ์และทำให้สัญญาณไหลได้ครบวงจร นอกจากนี้คือการหลีกเลี่ยงการใช้กราวด์แบบแยกส่วน เว้นแต่มีความจำเป็นอย่างยิ่ง และให้แน่ใจว่ามีการเชื่อมต่อกราวด์อย่างเหมาะสมเมื่อเกิดการแยกส่วนกัน

- การกำหนดเส้นทางของสายสัญญาณ โดยการลดความยาวของสายสัญญาณความเร็วสูงเพื่อลดการแพร่คลื่น และการใช้คู่สัญญาณที่แตกต่างกันสำหรับสายสัญญาณที่มีความเร็วสูงเพื่อให้มีการป้องกันสัญญาณรบกวนกันดีขึ้น ตลอดจนการกำหนดเส้นทางของสายสัญญาณโดยตรง ให้อยู่เหนือแผงกราวด์เพื่อลดพื้นที่ของลูปสัญญาณและการแพร่คลื่น

- การวางตัวเก็บประจุ วางตัวเก็บประจุแบบแยกส่วนให้ใกล้กับพินของตัวจ่ายไฟหรือพลังงานของ ICให้มากที่สุด เพื่อให้สามารถกรองสัญญาณรบกวนความถี่สูงได้อย่างมีประสิทธิภาพ

- การมีระยะห่างระหว่างสัญญาณ รักษาระยะห่างที่เหมาะสมระหว่างสายสัญญาณอนาล็อก ดิจิทัล และสายตัวจ่ายไฟ เพื่อลดสัญญาณรบกวน (Crosstalk) และสัญญาณรบกวนอื่นๆ

2. การป้องกันและการห่อหุ้ม

การป้องกันที่มีประสิทธิภาพจะช่วยปกป้องอุปกรณ์จากการสิ่งรบกวนจากภายนอกหรืออีกทางนึงคือการป้องกันไม่ให้มีการปล่อยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าออกมา:

-การหุ้มตัวนำ ใช้การหุ้มโลหะหรือพลาสติกเคลือบตัวนำเพื่อปิดกั้นการแพร่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

-การชิลสายเคเบิล ใช้สายเคเบิลที่มีฉนวนป้องกันสำหรับสายสัญญาณและไฟฟ้า และให้แน่ใจว่ามีการต่อสายดินของฉนวนป้องกันสายเคเบิลอย่างถูกต้องเพื่อหลีกเลี่ยงไม่ให้สายนั้นทำหน้าที่เป็นสายอากาศแทน

- การจัดการตะเข็บหรือรอยต่อ ลดช่องว่างและตะเข็บในการหุ้มให้เหลือน้อยที่สุดเพื่อหลีกเลี่ยงการรั่วไหลของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

3. การออกแบบแหล่งจ่ายไฟ

แหล่งจ่ายไฟที่มีสัญญาณรบกวนอาจส่งผลต่อประสิทธิภาพของ EMC:

ตัวกรอง: การใช้ตัวกรอง LC หรือ RC บนสายไฟเพื่อลดสัญญาณรบกวนที่ส่งมาตามสายสัญญาณ

ความสมบูรณ์ของพลังงาน (Signal Integrity): ให้แน่ใจว่าจ่ายพลังงานอย่างมีเสถียรภาพโดยใช้ตัวเก็บประจุบายพาส (Bypass) และตัวเก็บประจุ (Bulk) ที่เหมาะสมในการออกแบบ

ตัวควบคุมการสลับ (Switching): สำหรับแหล่งจ่ายไฟแบบสวิตช์สับเปลี่ยนการจ่ายไฟ ให้ลดสัญญาณรบกวนจากการสลับโดยปรับเค้าโครงหรือเลย์เอาต์ให้เหมาะสมและใช้วงจรสนับเบอร์เพื่อป้องกันแรงดันกระโชก

4. การเลือกส่วนประกอบอิเล็กทรอนิกส์อย่างเหมาะสม

การเลือกส่วนประกอบอิเล็กทรอนิกส์ที่เหมาะสมส่งผลต่อทั้งการปล่อยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าและการป้องกันการกวนกันของสัญญาณ:

การใช้ส่วนประกอบอิเล็กทรอนิกส์ที่มีค่า EMI ต่ำ เลือกส่วนประกอบที่มีค่า EMI ต่ำ

การใช้ออสซิลเลเตอร์เวลา (Clock Oscillators) เลือกออสซิลเลเตอร์ที่มีสัญญาณรบกวนเฟสต่ำและฮาร์มอนิกที่น้อยเพื่อลดการปล่อยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่เกินจำเป็น

การเลือกใช้ขั้วหรือหัวต่อ (Connector) ที่มีการจัดการด้าน EMC ใช้หัวต่อที่ออกแบบมาสำหรับการใช้งาน EMC เพื่อเพิ่มการการป้องกัน EMI หรือการหุ้มฉนวนแทนได้

5. การทดสอบควรจะกระทำตั้งแต่ในระยะเริ่มต้นการออกแบบและทดสอบแบบซ้ำไปซ้ำมา

การทดสอบจะช่วยตรวจสอบปัญหาก่อนการผลิตและช่วยยืนยันความสอดคล้องกับข้อกำหนด EMC:

การทดสอบก่อนปฏิบัติตามข้อกำหนด: ใช้โพรบแบบระยะ( Near Field) พร้อมเครื่องวิเคราะห์สเปกตรัม และห้องปฏิบัติการสำหรับ EMC เพื่อทดสอบการปล่อยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าและการป้องกันต่างๆในแต่ละขั้นตอนในการพัฒนาออกแบบ

เครื่องมือในการจำลอง(Simulation): ใช้ซอฟต์แวร์จำลอง EMC เพื่อคาดการณ์และแก้ไขปัญหาที่อาจเกิดขึ้นก่อนสร้างตัวต้นแบบทางกายภาพ (Physical Prototype)

การทดสอบแบบวนซ้ำ: ตรวจสอบประสิทธิภาพของ EMC ด้วยการทดสอบซ้ำเพื่อให้แน่ใจว่าการออกแบบเป็นไปตามข้อกำหนด

ปัญหาข้อผิดพลาดที่พบบ่อยในการการออกแบบอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้เป็นไปตามข้อกำหนด EMC

1. ละเลยหลักการต่อสายดินหรือการลงกราวด์

การต่อลงดินที่ไม่เหมาะสมเป็นสาเหตุที่พบบ่อยของปัญหา EMC แผ่นกราวด์ที่ลอยหรือไม่ต่อเนื่องทำให้เกิดลูปกราวด์ ซึ่งนำไปสู่การแพร่คลื่นมากเกินไปและไวต่อสัญญาณรบกวน ดังนั้นจึงควรตรวจสอบให้แน่ใจว่าแผ่นกราวด์มีความแข็งแรงและเชื่อมต่อกันได้ดีตลอดทาง

2. มองข้ามความสมบูรณ์ของสัญญาณ (Signal Integrity)

การออกแบบเส้นทางสายสัญญาณที่ไม่ดีและการแยกสัญญาณที่ระยะไม่เพียงพออาจทำให้เกิดการรบกวนกันข้ามสาย (Crosstalk) และลดคุณภาพสัญญาณ ควรหลีกเลี่ยงการออกแบบเส้นทางสายสัญญาณที่อยู่ใกล้กับสายไฟที่มีสัญญาณรบกวนหรือสัญญาณความเร็วสูง

3. การป้องกันที่ไม่เพียงพอ

การป้องกันที่ไม่เหมาะสมอาจทำให้ไม่สามารถป้องกัน EMI ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น การใช้กล่องหรือฉนวนที่มีช่องว่างหรือรอยต่อขนาดใหญ่ หรือการไม่ต่อลงดินอย่างถูกต้อง ควรให้ความสำคัญกับเส้นทางการเชื่อมต่อสายและรูระบายอากาศที่สามารถนำไปสู่การรั่วไหลของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

4. สัญญาณรบกวนจากแหล่งจ่ายไฟ

สัญญาณรบกวนจากตัวควบคุมการสลับ (Switching) หรือแหล่งจ่ายไฟที่กรองไม่ดีอาจทำให้เกิดปัญหาการปล่อยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (EMI) ควรตรวจสอบให้แน่ใจว่าใช้เทคนิคการกรองที่เหมาะสม เช่น การเลือกตัวกรองที่เหมาะสมในวงจรจ่ายไฟ

5. การแก้ไข EMC ในนาทีสุดท้าย

การพยายามแก้ไขปัญหาทาง EMC ในช่วงท้ายของการออกแบบวงจรมักจะทำให้วิธีการแก้ปัญหาที่ไม่เหมาะสม เช่น การใช้ลูกปัดเฟอร์ไรต์ (Ferrite Beads) หรือฟิลเตอร์ภายหลังเพื่อป้องกันการกวนกันของสายไฟ โดยไม่ได้แก้ไขสาเหตุที่แท้จริง ทำให้เพิ่มต้นทุนและความซับซ้อนในการออกแบบ