การปฏิบัติตามข้อกำหนดด้านสิ่งแวดล้อมในการผลิตชิ้นส่วนแบบพาสซีฟ

การผลิตชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์แบบพาสซีฟในปัจจุบัน ไม่เพียงแต่ต้องตอบโจทย์ด้านเทคโนโลยี แต่ยังต้องปฏิบัติตามข้อกำหนดด้านสิ่งแวดล้อมที่เข้มงวด

การปฏิบัติตามข้อกำหนดด้านสิ่งแวดล้อมในการผลิตชิ้นส่วนแบบพาสซีฟ

ในโลกของเทคโนโลยีที่มีความก้าวหน้าไปอย่างมาก ดังเช่น อุตสาหกรรมด้านการผลิตชิ้นส่วนอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์มีการใช้เทคโนโลยีที่ซับซ้อนและสารเคมีต่างๆในการผลิต  ดังนั้นจึงต้องมีการปฏิบัติตามข้อกำหนดด้านสิ่งแวดล้อมทั้งในเรื่องของชิ้นส่วนอุปกรณ์และความปลอดภัยด้านต่างๆ อย่างไรก็ตามในการปฎิบัติข้อกำหนดนั้นเป็นสิ่งที่ท้าทายต่อความสามารถการปฎิบัติได้ตามเกณฑ์มาตรฐานความปลอดภัย ทั้งนี้ มาตรฐานและข้อบังคับนั้นมีอยู่หลายประเภท อาทิเช่น  RoHS, REACH, and PFAS ฯลฯ ที่มีผลต่อสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย  ฉะนั้นในปัจจุบันการผลิตชิ้นส่วนอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้ประกอบบนแผง PCB บอร์ดโดยเฉพาะอย่างชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์แบบพาสซีฟ จะไม่เป็นเพียงแค่อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ด้านนวัตกรรมที่พัฒนาขึ้นเท่านั้น แต่ยังคำนึงถึงความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อมอีกด้วย

PFAS (Per- and Polyfluoroalkyl)

สารเคมี Polyfluoroalkyl

สารเคมีอย่าง Polyfluoroalkyl ประกอบไปด้วย กลุ่มสารเคมี 4,730 ชนิด ที่ไม่เกิดขึ้นจากธรรมชาติแต่เกิดจากฝีมือของมนุษย์สร้างขึ้น ดังนั้นสารเหล่านี้จึงไม่สามารถย่อยสลายไปได้โดยกระบวนการทางธรรมชาติและในส่วนของชิ้นส่วนอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ สาร PFAS มักถูกใช้ในกระบวนการการผลิต (Manufacturing Process)  ยกตัวอย่าง เช่น

1. การทำฉนวน (Coating/Encapsulation) สำหรับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์โดยใช้สาร Fluoropolymer ด้วยมีวัตถุประสงค์ต่อการคงทนต่ออุณหภูมิที่สูง ความชื้นและเปียก รวมทั้งทำหน้าที่เป็นฉนวนป้องกัน

2. การทำซีลป้องกันต่อสิ่งแวดล้อม โดยการ Sealing สำหรับตัวคาปาซิเตอร์ ด้วยการใช้สาร PTFE  เป็นต้น

ดังนั้น จึงจำเป็นต้องมีการลดปริมาณการใช้และระมัดระวังการใช้ต่อสิ่งแวดล้อมให้สามารถปฏิบัติตามข้อบังคับต่อความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม

REACH: Registration, Evaluation, Authorization, and Restriction of Chemicals Standard

มาตรฐานในการจำกัดสารเคมี การลงทะเบียนข้อมูล การประเมิน และการอนุญาต

มาตรฐานนี้ใช้ในการควบคุมสารเคมีที่ใช้ในการผลิตชิ้นส่วนอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งในปัจจุบันควบคุมประมาณ 224 ชนิด สารใดที่อยู่ในผลิตภัณฑ์จะถูกพิจารณาให้อยู่ในสารเคมีที่ต้องระวังอย่างมาก (Substances of Very High Concern: SVHCs) ต่อการใช้งาน โดยสามารถแยกสารประกอบที่มีอันตรายต่อสุขภาพของมนุษย์ได้ ดังนี้

- Carcinogenic Substance สารก่อมะเร็ง

- Mutagenic substances สารก่อกลายพันธุ์

- Endocrine disruptors สารรบกวนการทำงานกับต่อมไร้ท่อ

- Reproductive disruptors สิ่งรบกวนต่อระบบสืบพันธุ์

- Organic pollutants สารมลพิษตกค้าง

การไม่ปฏิบัติตาม REACH นำไปสู่การได้รับบทลงโทษ รวมทั้งค่าปรับและจำคุก โดยมีวัตถุประสงค์ต่อการควบคุมการใช้ ดังนี้ คือ

1. ป้องกันสุขภาพและสิ่งแวดล้อม REACH เน้นไปที่การระบุจำแนกและการบริหารความเสี่ยงที่เป็นผลมาจากสารเคมีเหล่านั้น เพื่อให้มีความเชื่อมั่นในการควบคุมสารเคมีได้อย่างเหมาะสมและปลอดภัย

2. การสนับสนุนรณรงค์ในทางเลือกขอการทดสอบสารเคมี กล่าวคือ ลดการทดสอบกับสัตว์หรือใช้การทดสอบทดลองทางเลือกอื่นๆแทน

3. กระตุ้นนวัตกรรม โดยควบคุมสารเคมีที่อันตราย แต่สนับสนุนและกระตุ้นนวัตกรรมที่ไม่ใช้สารเคมีอันตรายแทน

นอกจากนี้ยังมีมาตรการต่างๆที่ใช้ในการควบคุม อาทิ เช่น การลงทะเบียนข้อมูลสินค้า กล่าวคือ ถ้าสินค้าหรืออุปกรณ์ใดไม่มีข้อมูลที่ระบุถึงความปลอดภัยต่อการใช้งาน จะไม่สามารถนำมาขายได้หรือการเผยแพร่ข้อมูลให้สามารถตรวจสอบได้

RoHS (Restriction of Hazardous Substances Directive)

ข้อบังคับในการจำกัดการใช้สารที่เป็นอันตราย

คือการจำกัดการใช้วัสดุที่อันตราย ที่ส่วนใหญ่พบในอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ โดยทุกๆ สินค้าและอุปกรณ์ต้องทำตามข้อบังคับนี้ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้ใช้มีความปลอดภัยต่อการใช้งานและผู้ผลิตจะต้องผลิตออกมาโดยคำนึงถึงสิ่งแวดล้อมเป็นสำคัญ

ข้อบังคับ RoHS อยู่ในการผลิตอุปกรณ์อิเล็กทรอกนิกส์ที่มีเซมิคอนดักเตอร์เป็นวัสดุและเป็นผลิตภัณฑ์สินค้าที่มีใช้งานอยู่ในชีวิตประจำวัน โดยการบังคับควบคุมนั้นได้ระบุข้อกำหนดของสารเคมีทั้ง 10 ชนิดหากมีสารเคมีเหล่านี้ จะต้องมีปริมาณสารเคมีไม่เกิน 0.1 %

1. ปรอท Mercury (Hg)

2. แคดเมียม Cadmium (Cd)

3. ตะกั่ว Lead (Pb)

4. เฮกซะวาเลนต์โครเมียม Hexavalent chromium (Cr6+)

5. โพลีโบรมีนเนตเต็ดไบฟีนีล Polybrominated biphenyls (PBB)

6. Polybrominated diphenyl ethers (PBDE)

7. Bis(2-ethylhexyl) phthalate (DEHP)

8. Butyl benzyl phthalate (BBP)

9. Dibutyl phthalate (DBP)

10. Di isobutyl phthalate (DIBP)

นอกจากนี้ยังมีองค์กรณ์อื่นๆ ในการจัดการเรื่องสุขภาพ สิ่งแวดล้อมและความปลอดภัยต่อการผลิตอุปกรณ์อิเล็กทรอกนิกส์ทั้ง Passive และ Active โดยออกมาเป็นคำแนะนำในการผลิตเซมิคอนดักเตอร์ และอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์อื่นๆ  

Environment, Health, and Safety Guideline for Semiconductor & Other Electronics Manufacturing: EHS

ข้อแนะนำความปลอดภัยต่อสิ่งแวดล้อม สุขภาพ และความปลอดภัย สำหรับการผลิตเซมิคอนดักเตอร์และอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์อื่นๆ

โดยการใช้งานนี้จะเป็นข้อมูลแนะนำพื้นฐานในการประเมินและจัดการสิ่งแวดล้อม ซึ่งมุ่งเน้น ถึงการใช้วัสดุที่อันตรายและการบริหารจัดการของเสีย การปลดปล่อยอากาศเสียและสิ่งปฎิกูลทางน้ำ การใช้พลังงาน ตลอดจนการปรับเปลี่ยนขั้นตอนในการดูแลรักษาความปลอดภัยต่อสิ่งแวดล้อม สุขภาพ

การปฏิบัติตามข้อกำหนดด้านสิ่งแวดล้อมในการผลิตชิ้นส่วนแบบพาสซีฟ

การผลิตชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์แบบพาสซีฟในปัจจุบัน ไม่เพียงแต่ต้องตอบโจทย์ด้านเทคโนโลยี แต่ยังต้องปฏิบัติตามข้อกำหนดด้านสิ่งแวดล้อมที่เข้มงวด

นักเขียนบทความ
by 
นักเขียนบทความ
การปฏิบัติตามข้อกำหนดด้านสิ่งแวดล้อมในการผลิตชิ้นส่วนแบบพาสซีฟ

การปฏิบัติตามข้อกำหนดด้านสิ่งแวดล้อมในการผลิตชิ้นส่วนแบบพาสซีฟ

การผลิตชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์แบบพาสซีฟในปัจจุบัน ไม่เพียงแต่ต้องตอบโจทย์ด้านเทคโนโลยี แต่ยังต้องปฏิบัติตามข้อกำหนดด้านสิ่งแวดล้อมที่เข้มงวด

ในโลกของเทคโนโลยีที่มีความก้าวหน้าไปอย่างมาก ดังเช่น อุตสาหกรรมด้านการผลิตชิ้นส่วนอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์มีการใช้เทคโนโลยีที่ซับซ้อนและสารเคมีต่างๆในการผลิต  ดังนั้นจึงต้องมีการปฏิบัติตามข้อกำหนดด้านสิ่งแวดล้อมทั้งในเรื่องของชิ้นส่วนอุปกรณ์และความปลอดภัยด้านต่างๆ อย่างไรก็ตามในการปฎิบัติข้อกำหนดนั้นเป็นสิ่งที่ท้าทายต่อความสามารถการปฎิบัติได้ตามเกณฑ์มาตรฐานความปลอดภัย ทั้งนี้ มาตรฐานและข้อบังคับนั้นมีอยู่หลายประเภท อาทิเช่น  RoHS, REACH, and PFAS ฯลฯ ที่มีผลต่อสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย  ฉะนั้นในปัจจุบันการผลิตชิ้นส่วนอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้ประกอบบนแผง PCB บอร์ดโดยเฉพาะอย่างชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์แบบพาสซีฟ จะไม่เป็นเพียงแค่อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ด้านนวัตกรรมที่พัฒนาขึ้นเท่านั้น แต่ยังคำนึงถึงความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อมอีกด้วย

PFAS (Per- and Polyfluoroalkyl)

สารเคมี Polyfluoroalkyl

สารเคมีอย่าง Polyfluoroalkyl ประกอบไปด้วย กลุ่มสารเคมี 4,730 ชนิด ที่ไม่เกิดขึ้นจากธรรมชาติแต่เกิดจากฝีมือของมนุษย์สร้างขึ้น ดังนั้นสารเหล่านี้จึงไม่สามารถย่อยสลายไปได้โดยกระบวนการทางธรรมชาติและในส่วนของชิ้นส่วนอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ สาร PFAS มักถูกใช้ในกระบวนการการผลิต (Manufacturing Process)  ยกตัวอย่าง เช่น

1. การทำฉนวน (Coating/Encapsulation) สำหรับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์โดยใช้สาร Fluoropolymer ด้วยมีวัตถุประสงค์ต่อการคงทนต่ออุณหภูมิที่สูง ความชื้นและเปียก รวมทั้งทำหน้าที่เป็นฉนวนป้องกัน

2. การทำซีลป้องกันต่อสิ่งแวดล้อม โดยการ Sealing สำหรับตัวคาปาซิเตอร์ ด้วยการใช้สาร PTFE  เป็นต้น

ดังนั้น จึงจำเป็นต้องมีการลดปริมาณการใช้และระมัดระวังการใช้ต่อสิ่งแวดล้อมให้สามารถปฏิบัติตามข้อบังคับต่อความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม

REACH: Registration, Evaluation, Authorization, and Restriction of Chemicals Standard

มาตรฐานในการจำกัดสารเคมี การลงทะเบียนข้อมูล การประเมิน และการอนุญาต

มาตรฐานนี้ใช้ในการควบคุมสารเคมีที่ใช้ในการผลิตชิ้นส่วนอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งในปัจจุบันควบคุมประมาณ 224 ชนิด สารใดที่อยู่ในผลิตภัณฑ์จะถูกพิจารณาให้อยู่ในสารเคมีที่ต้องระวังอย่างมาก (Substances of Very High Concern: SVHCs) ต่อการใช้งาน โดยสามารถแยกสารประกอบที่มีอันตรายต่อสุขภาพของมนุษย์ได้ ดังนี้

- Carcinogenic Substance สารก่อมะเร็ง

- Mutagenic substances สารก่อกลายพันธุ์

- Endocrine disruptors สารรบกวนการทำงานกับต่อมไร้ท่อ

- Reproductive disruptors สิ่งรบกวนต่อระบบสืบพันธุ์

- Organic pollutants สารมลพิษตกค้าง

การไม่ปฏิบัติตาม REACH นำไปสู่การได้รับบทลงโทษ รวมทั้งค่าปรับและจำคุก โดยมีวัตถุประสงค์ต่อการควบคุมการใช้ ดังนี้ คือ

1. ป้องกันสุขภาพและสิ่งแวดล้อม REACH เน้นไปที่การระบุจำแนกและการบริหารความเสี่ยงที่เป็นผลมาจากสารเคมีเหล่านั้น เพื่อให้มีความเชื่อมั่นในการควบคุมสารเคมีได้อย่างเหมาะสมและปลอดภัย

2. การสนับสนุนรณรงค์ในทางเลือกขอการทดสอบสารเคมี กล่าวคือ ลดการทดสอบกับสัตว์หรือใช้การทดสอบทดลองทางเลือกอื่นๆแทน

3. กระตุ้นนวัตกรรม โดยควบคุมสารเคมีที่อันตราย แต่สนับสนุนและกระตุ้นนวัตกรรมที่ไม่ใช้สารเคมีอันตรายแทน

นอกจากนี้ยังมีมาตรการต่างๆที่ใช้ในการควบคุม อาทิ เช่น การลงทะเบียนข้อมูลสินค้า กล่าวคือ ถ้าสินค้าหรืออุปกรณ์ใดไม่มีข้อมูลที่ระบุถึงความปลอดภัยต่อการใช้งาน จะไม่สามารถนำมาขายได้หรือการเผยแพร่ข้อมูลให้สามารถตรวจสอบได้

RoHS (Restriction of Hazardous Substances Directive)

ข้อบังคับในการจำกัดการใช้สารที่เป็นอันตราย

คือการจำกัดการใช้วัสดุที่อันตราย ที่ส่วนใหญ่พบในอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ โดยทุกๆ สินค้าและอุปกรณ์ต้องทำตามข้อบังคับนี้ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้ใช้มีความปลอดภัยต่อการใช้งานและผู้ผลิตจะต้องผลิตออกมาโดยคำนึงถึงสิ่งแวดล้อมเป็นสำคัญ

ข้อบังคับ RoHS อยู่ในการผลิตอุปกรณ์อิเล็กทรอกนิกส์ที่มีเซมิคอนดักเตอร์เป็นวัสดุและเป็นผลิตภัณฑ์สินค้าที่มีใช้งานอยู่ในชีวิตประจำวัน โดยการบังคับควบคุมนั้นได้ระบุข้อกำหนดของสารเคมีทั้ง 10 ชนิดหากมีสารเคมีเหล่านี้ จะต้องมีปริมาณสารเคมีไม่เกิน 0.1 %

1. ปรอท Mercury (Hg)

2. แคดเมียม Cadmium (Cd)

3. ตะกั่ว Lead (Pb)

4. เฮกซะวาเลนต์โครเมียม Hexavalent chromium (Cr6+)

5. โพลีโบรมีนเนตเต็ดไบฟีนีล Polybrominated biphenyls (PBB)

6. Polybrominated diphenyl ethers (PBDE)

7. Bis(2-ethylhexyl) phthalate (DEHP)

8. Butyl benzyl phthalate (BBP)

9. Dibutyl phthalate (DBP)

10. Di isobutyl phthalate (DIBP)

นอกจากนี้ยังมีองค์กรณ์อื่นๆ ในการจัดการเรื่องสุขภาพ สิ่งแวดล้อมและความปลอดภัยต่อการผลิตอุปกรณ์อิเล็กทรอกนิกส์ทั้ง Passive และ Active โดยออกมาเป็นคำแนะนำในการผลิตเซมิคอนดักเตอร์ และอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์อื่นๆ  

Environment, Health, and Safety Guideline for Semiconductor & Other Electronics Manufacturing: EHS

ข้อแนะนำความปลอดภัยต่อสิ่งแวดล้อม สุขภาพ และความปลอดภัย สำหรับการผลิตเซมิคอนดักเตอร์และอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์อื่นๆ

โดยการใช้งานนี้จะเป็นข้อมูลแนะนำพื้นฐานในการประเมินและจัดการสิ่งแวดล้อม ซึ่งมุ่งเน้น ถึงการใช้วัสดุที่อันตรายและการบริหารจัดการของเสีย การปลดปล่อยอากาศเสียและสิ่งปฎิกูลทางน้ำ การใช้พลังงาน ตลอดจนการปรับเปลี่ยนขั้นตอนในการดูแลรักษาความปลอดภัยต่อสิ่งแวดล้อม สุขภาพ

Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipiscing elit. Suspendisse varius enim in eros elementum tristique. Duis cursus, mi quis viverra ornare, eros dolor interdum nulla, ut commodo diam libero vitae erat. Aenean faucibus nibh et justo cursus id rutrum lorem imperdiet. Nunc ut sem vitae risus tristique posuere.

การปฏิบัติตามข้อกำหนดด้านสิ่งแวดล้อมในการผลิตชิ้นส่วนแบบพาสซีฟ

การปฏิบัติตามข้อกำหนดด้านสิ่งแวดล้อมในการผลิตชิ้นส่วนแบบพาสซีฟ

การผลิตชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์แบบพาสซีฟในปัจจุบัน ไม่เพียงแต่ต้องตอบโจทย์ด้านเทคโนโลยี แต่ยังต้องปฏิบัติตามข้อกำหนดด้านสิ่งแวดล้อมที่เข้มงวด

Lorem ipsum dolor amet consectetur adipiscing elit tortor massa arcu non.

ในโลกของเทคโนโลยีที่มีความก้าวหน้าไปอย่างมาก ดังเช่น อุตสาหกรรมด้านการผลิตชิ้นส่วนอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์มีการใช้เทคโนโลยีที่ซับซ้อนและสารเคมีต่างๆในการผลิต  ดังนั้นจึงต้องมีการปฏิบัติตามข้อกำหนดด้านสิ่งแวดล้อมทั้งในเรื่องของชิ้นส่วนอุปกรณ์และความปลอดภัยด้านต่างๆ อย่างไรก็ตามในการปฎิบัติข้อกำหนดนั้นเป็นสิ่งที่ท้าทายต่อความสามารถการปฎิบัติได้ตามเกณฑ์มาตรฐานความปลอดภัย ทั้งนี้ มาตรฐานและข้อบังคับนั้นมีอยู่หลายประเภท อาทิเช่น  RoHS, REACH, and PFAS ฯลฯ ที่มีผลต่อสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย  ฉะนั้นในปัจจุบันการผลิตชิ้นส่วนอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้ประกอบบนแผง PCB บอร์ดโดยเฉพาะอย่างชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์แบบพาสซีฟ จะไม่เป็นเพียงแค่อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ด้านนวัตกรรมที่พัฒนาขึ้นเท่านั้น แต่ยังคำนึงถึงความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อมอีกด้วย

PFAS (Per- and Polyfluoroalkyl)

สารเคมี Polyfluoroalkyl

สารเคมีอย่าง Polyfluoroalkyl ประกอบไปด้วย กลุ่มสารเคมี 4,730 ชนิด ที่ไม่เกิดขึ้นจากธรรมชาติแต่เกิดจากฝีมือของมนุษย์สร้างขึ้น ดังนั้นสารเหล่านี้จึงไม่สามารถย่อยสลายไปได้โดยกระบวนการทางธรรมชาติและในส่วนของชิ้นส่วนอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ สาร PFAS มักถูกใช้ในกระบวนการการผลิต (Manufacturing Process)  ยกตัวอย่าง เช่น

1. การทำฉนวน (Coating/Encapsulation) สำหรับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์โดยใช้สาร Fluoropolymer ด้วยมีวัตถุประสงค์ต่อการคงทนต่ออุณหภูมิที่สูง ความชื้นและเปียก รวมทั้งทำหน้าที่เป็นฉนวนป้องกัน

2. การทำซีลป้องกันต่อสิ่งแวดล้อม โดยการ Sealing สำหรับตัวคาปาซิเตอร์ ด้วยการใช้สาร PTFE  เป็นต้น

ดังนั้น จึงจำเป็นต้องมีการลดปริมาณการใช้และระมัดระวังการใช้ต่อสิ่งแวดล้อมให้สามารถปฏิบัติตามข้อบังคับต่อความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม

REACH: Registration, Evaluation, Authorization, and Restriction of Chemicals Standard

มาตรฐานในการจำกัดสารเคมี การลงทะเบียนข้อมูล การประเมิน และการอนุญาต

มาตรฐานนี้ใช้ในการควบคุมสารเคมีที่ใช้ในการผลิตชิ้นส่วนอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งในปัจจุบันควบคุมประมาณ 224 ชนิด สารใดที่อยู่ในผลิตภัณฑ์จะถูกพิจารณาให้อยู่ในสารเคมีที่ต้องระวังอย่างมาก (Substances of Very High Concern: SVHCs) ต่อการใช้งาน โดยสามารถแยกสารประกอบที่มีอันตรายต่อสุขภาพของมนุษย์ได้ ดังนี้

- Carcinogenic Substance สารก่อมะเร็ง

- Mutagenic substances สารก่อกลายพันธุ์

- Endocrine disruptors สารรบกวนการทำงานกับต่อมไร้ท่อ

- Reproductive disruptors สิ่งรบกวนต่อระบบสืบพันธุ์

- Organic pollutants สารมลพิษตกค้าง

การไม่ปฏิบัติตาม REACH นำไปสู่การได้รับบทลงโทษ รวมทั้งค่าปรับและจำคุก โดยมีวัตถุประสงค์ต่อการควบคุมการใช้ ดังนี้ คือ

1. ป้องกันสุขภาพและสิ่งแวดล้อม REACH เน้นไปที่การระบุจำแนกและการบริหารความเสี่ยงที่เป็นผลมาจากสารเคมีเหล่านั้น เพื่อให้มีความเชื่อมั่นในการควบคุมสารเคมีได้อย่างเหมาะสมและปลอดภัย

2. การสนับสนุนรณรงค์ในทางเลือกขอการทดสอบสารเคมี กล่าวคือ ลดการทดสอบกับสัตว์หรือใช้การทดสอบทดลองทางเลือกอื่นๆแทน

3. กระตุ้นนวัตกรรม โดยควบคุมสารเคมีที่อันตราย แต่สนับสนุนและกระตุ้นนวัตกรรมที่ไม่ใช้สารเคมีอันตรายแทน

นอกจากนี้ยังมีมาตรการต่างๆที่ใช้ในการควบคุม อาทิ เช่น การลงทะเบียนข้อมูลสินค้า กล่าวคือ ถ้าสินค้าหรืออุปกรณ์ใดไม่มีข้อมูลที่ระบุถึงความปลอดภัยต่อการใช้งาน จะไม่สามารถนำมาขายได้หรือการเผยแพร่ข้อมูลให้สามารถตรวจสอบได้

RoHS (Restriction of Hazardous Substances Directive)

ข้อบังคับในการจำกัดการใช้สารที่เป็นอันตราย

คือการจำกัดการใช้วัสดุที่อันตราย ที่ส่วนใหญ่พบในอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ โดยทุกๆ สินค้าและอุปกรณ์ต้องทำตามข้อบังคับนี้ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้ใช้มีความปลอดภัยต่อการใช้งานและผู้ผลิตจะต้องผลิตออกมาโดยคำนึงถึงสิ่งแวดล้อมเป็นสำคัญ

ข้อบังคับ RoHS อยู่ในการผลิตอุปกรณ์อิเล็กทรอกนิกส์ที่มีเซมิคอนดักเตอร์เป็นวัสดุและเป็นผลิตภัณฑ์สินค้าที่มีใช้งานอยู่ในชีวิตประจำวัน โดยการบังคับควบคุมนั้นได้ระบุข้อกำหนดของสารเคมีทั้ง 10 ชนิดหากมีสารเคมีเหล่านี้ จะต้องมีปริมาณสารเคมีไม่เกิน 0.1 %

1. ปรอท Mercury (Hg)

2. แคดเมียม Cadmium (Cd)

3. ตะกั่ว Lead (Pb)

4. เฮกซะวาเลนต์โครเมียม Hexavalent chromium (Cr6+)

5. โพลีโบรมีนเนตเต็ดไบฟีนีล Polybrominated biphenyls (PBB)

6. Polybrominated diphenyl ethers (PBDE)

7. Bis(2-ethylhexyl) phthalate (DEHP)

8. Butyl benzyl phthalate (BBP)

9. Dibutyl phthalate (DBP)

10. Di isobutyl phthalate (DIBP)

นอกจากนี้ยังมีองค์กรณ์อื่นๆ ในการจัดการเรื่องสุขภาพ สิ่งแวดล้อมและความปลอดภัยต่อการผลิตอุปกรณ์อิเล็กทรอกนิกส์ทั้ง Passive และ Active โดยออกมาเป็นคำแนะนำในการผลิตเซมิคอนดักเตอร์ และอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์อื่นๆ  

Environment, Health, and Safety Guideline for Semiconductor & Other Electronics Manufacturing: EHS

ข้อแนะนำความปลอดภัยต่อสิ่งแวดล้อม สุขภาพ และความปลอดภัย สำหรับการผลิตเซมิคอนดักเตอร์และอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์อื่นๆ

โดยการใช้งานนี้จะเป็นข้อมูลแนะนำพื้นฐานในการประเมินและจัดการสิ่งแวดล้อม ซึ่งมุ่งเน้น ถึงการใช้วัสดุที่อันตรายและการบริหารจัดการของเสีย การปลดปล่อยอากาศเสียและสิ่งปฎิกูลทางน้ำ การใช้พลังงาน ตลอดจนการปรับเปลี่ยนขั้นตอนในการดูแลรักษาความปลอดภัยต่อสิ่งแวดล้อม สุขภาพ