เรามาเริ่มทำความรู้จักกับ ESP32 กันเถอะ และคู่มือสำหรับผู้เริ่มต้น

ESP32: จิ๋วแต่แจ๋ว! Wi-Fi, Bluetooth พร้อมลุย IoT ในราคาเบาๆ เริ่มต้นง่าย สร้างสรรค์ได้ไม่รู้จบ!

เรามาเริ่มทำความรู้จักกับ ESP32 กันเถอะ และคู่มือสำหรับผู้เริ่มต้น

ESP32 เป็นไมโครคอนโทรลเลอร์ที่มีความหลากหลายต่อการใช้งานในราคาประหยัดที่มาพร้อมกับ Wi-Fi และ Bluetooth ในตัว ทำให้เป็นตัวเลือกที่ดียิ่งสำหรับโปรเจ็คอย่าง Internet of Things (IoT) ซึ่งเหมาะสำหรับทั้งผู้เริ่มต้นและผู้คิดค้นพัฒนาที่มีประสบการณ์ในการใช้ ESP32 มาก่อน ด้วย ESP32 นั้นมีแพลตฟอร์มที่เหมาะสำหรับการเรียนรู้และการสร้างโปรเจคด้านวิศวกรรมใหม่ๆ จึงเป็นเหตุผลให้ต้องมีการศึกษาเรียนรู้ข้อมูลและอุปกรณ์พื้นฐานของ ESP32 วิธีการใช้งานเริ่มต้น ตลอดจน ข้อดีและข้อเสียหรือขีดความสามารถอื่นๆ รวมไปถึงภาษาการเขียนโปรแกรมร่วมกับ ESP 32 เพื่อให้สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ส่วนประกอบสำคัญของฮาร์ดแวร์

- ESP32 Development Board ประกอบไปด้วย Dual-core Processor 32 บิท ด้วย Clock frequency of 80 to 240 MHz and สามารถทำงานได้ถึง 600 DMIPS เช่น  ESP32 DevKit, NodeMCU-ESP32 หรือ Wemos D1 Mini ESP32 ซึ่งบอร์ดมาพร้อมกับ GPIO pins เชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตแบบ Wi-Fi และ Bluetooth ในตัว

- USB Cable แบบ Micro หรือ แบบ USB-C สำหรับการเชื่อมต่อแหล่งจ่ายไฟและการใช้งานสำหรับการเขียนโปรแกรม

- Breadboard and Jumper Wires บอร์ดและสายต่อสำหรับการต่อวงจรเบื้องต้น

- Basic Components อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์พื้นฐาน เช่น ตัวต้านทาน และเซ็นเซอร์ต่างๆ ฯลฯ

- Power Supply ใช้สำหรับเป็นแหล่งจ่ายไฟที่ 3.3 หรือ 5.5 โวลต์

ส่วนประกอบสำคัญของซอฟแวร์

- Arduino IDE โปรแกรมที่ใช้งานง่ายเพียงดาวโหลดและติดตั้ง ในการเชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์

- ESP-IDF  ซอฟต์แวร์สำหรับการเขียนโปรแกรม C/C++ เหมาะสำหรับผู้ใช้ที่เริ่มมีการใช้งานซับซ้อนมากขึ้น เพื่อใช้งานกับ ESP32

- Drivers ติดตั้ง CP210x หรือ CH340 USB ไปยัง UART driver เพื่อการเชื่อมต่อระหว่างคอมพิวเตอร์กับ ESP32

- Code Editor สำหรับผู้ใช้งานที่มีการใช้งานซับซ้อนมากขึ้น ด้วย Visual Studio Code

ภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมสำหรับ ESP32

- C/C++ เป็นภาษาหลักในการใช้งาน ESP32 และการใช้งาน Arduino IDE

- MicroPython เป็นทางเลือกของผู้ที่ถนัดในการใช้งาน Python

- Lua (NodeMCU Firmware) ภาษาสำหรับการพัฒนา IoT

- JavaScript (Espruino) ใช้ในเมื่อต้องการ รัน JavaScript และสำหรับผู้ใช้งานด้านการพัฒนาเว็บไซด์

เริ่มต้นง่ายๆ ด้วย 3 ขั้นตอน (สามารถค้นหาได้ง่ายๆผ่าน Search Engine)

ขั้นตอนที่ 1 เริ่มทำการติดตั้งระบบ

- ติดตั้ง Adruino IDE หรือ ESP-IDF

- ลง ESP32 board package ใน Adruino IDE

ขั้นตอนที่ 2 เขียนโปรแกรมและอัพโหลดโปรแกรมเบื้องต้น

- เชื่อมต่อ  ESP32 กับ คอมพิวเตอร์ ผ่านทาง USB

- เปิด Adruino IDE และเขียนโปรแกรมเบื้องต้นในการใช้งาน Blink แอพพลิเคชั่น แล้วอัพโหลดไปยัง ESP 32

ขั้นตอนที่ 3 ทดลองใช้งานกับเซ็นเซอร์ต่างๆ ด้วยโค้ด

ความได้เปรียบของการใช้งาน ESP32

- ESP32 มาพร้อม Wi-Fi และ Bluetooth (แบบคลาสสิกและ BLE) เข้าด้วยกัน ทำให้เหมาะอย่างยิ่งสำหรับโครงงานโปรเจคแบบ IoT

- ESP32 มี Dual-core Processor  ช่วยให้สามารถทำงานหลายอย่างพร้อมกันและเพิ่มประสิทธิภาพได้ดียิ่งขึ้นเมื่อเปรียบเทียบกับไมโครคอนโทรลเลอร์แบบคอร์เดียว

- บอร์ด ESP32 มีราคาไม่แพง

- ESP32 ประกอบด้วย GPIO, ADC, DAC, I2C, SPI, UART, PWM และอื่นๆ ซึ่งช่วยลดความจำเป็นในการใช้ส่วนประกอบเพิ่มเติม

- ESP32 มีการใช้งานอย่างแพร่หลายและมีคอมมิวนิตี้ขนาดใหญ่ จึงทำให้สามารถเรียนรู้ได้สะดวกมากยิ่งขึ้น

โปรเจ็คต่างๆ ที่เหมาะสำหรับการใช้งานร่วมกับ ESP32 สำหรับ IOT  

การใช้งาน ESP32 ในด้านของ IOT นั้นสามารถใช้งานได้อย่างหลากหลาย อาทิ เช่น

1. บ้านอัจฉริยะ (Home Automation) ด้วยการควบคุมการใช้งานไฟฟ้าแสงสว่าง พัดลม ไวไฟ หรือ บลูทูต

2. การตรวจสอบเฝ้าระวังสิ่งแวดล้อม (Environmental Monitoring) การสร้างสถานีตรวจภูมิอากาศเบื้องต้นด้วยการวัดอุณหภูมิและความชื้น

3. โรบอท (Robotics) ใช้ในการควบคุมการทำงานของมอเตอร์ เซอร์โว และเซ็นเซอร์ต่างๆ

4. เทคโนโลยีอุปกรณ์สวมใส่ (Wearable Devices) การเชื่อมต่อในการตรวจสอบวัดข้อมูลต่างๆของร่างกาย ดังเช่น Smart watch เป็นต้น

5. ระบบควบคุมอัตโนมัติในงานอุตสาหกรรม (Industrial Automation) การตรวจสอบและติดตามการทำงานของอุปกรณ์ในอุตสาหกรรมและการเชื่อมต่อในโปรโตคอลต่างๆ

6. ระบบการรักษาความปลอดภัย(Security Systems) ใช้ในการเชื่อมต่อการล็อกประตูอัตโนมัติ การตรวจจับการเคลื่อนไหว ระบบการเฝ้าระวังอื่นๆ

7. การทำเกษตรอัจฉริยะ (Smart Agriculture) การใช้งานระบบชลประทาน การตรวจสอบความชื้นของผิวดิน เป็นต้น

สรุป

ESP32 เป็นไมโครคอนโทรลเลอร์ที่ทรงพลังและอเนกประสงค์ซึ่งเหมาะสำหรับการพัฒนา IoT โดยมี Wi-Fi และ Bluetooth ในตัว มี Dual-core Processor และอุปกรณ์ต่อพ่วงมากมาย จึงทำให้สามารถทำงานได้อย่างหลากหลาย ด้วยราคาของต้นทุนของอุปกรณ์ที่ค่อนข้างต่ำ ถึงแม้ว่าอาจต้องใช้เวลาเรียนรู้นานกว่าเมื่อเปรียบเทียบกับไมโครคอนโทรลเลอร์อื่นๆสำหรับในผู้เริ่มต้น แต่ขอบเขตและการใช้งานนั้นมีอย่างแพร่หลาย ทำให้ผู้พัฒนาทุกระดับสามารถเข้าถึงได้ ไม่ว่าจะเริ่มต้นด้วยโปรเจ็กต์ง่ายๆ เช่น การกระพริบของไฟ LED หรือการอ่านและใช้งานเซ็นเซอร์ จนสามารถพัฒนาทักษะและก้าวไปสู่แอปพลิเคชันที่ซับซ้อนมากขึ้น ดังเช่น ระบบการใช้งานอัตโนมัติในบ้าน (Home Automation System) หุ่นยนต์ (Robotics) และระบบอุตสาหกรรมอัตโนมัติ  (Industrial Automation System) เป็นต้น

เรามาเริ่มทำความรู้จักกับ ESP32 กันเถอะ และคู่มือสำหรับผู้เริ่มต้น

ESP32: จิ๋วแต่แจ๋ว! Wi-Fi, Bluetooth พร้อมลุย IoT ในราคาเบาๆ เริ่มต้นง่าย สร้างสรรค์ได้ไม่รู้จบ!

นักเขียนบทความ
by 
นักเขียนบทความ
เรามาเริ่มทำความรู้จักกับ ESP32 กันเถอะ และคู่มือสำหรับผู้เริ่มต้น

เรามาเริ่มทำความรู้จักกับ ESP32 กันเถอะ และคู่มือสำหรับผู้เริ่มต้น

ESP32: จิ๋วแต่แจ๋ว! Wi-Fi, Bluetooth พร้อมลุย IoT ในราคาเบาๆ เริ่มต้นง่าย สร้างสรรค์ได้ไม่รู้จบ!

ESP32 เป็นไมโครคอนโทรลเลอร์ที่มีความหลากหลายต่อการใช้งานในราคาประหยัดที่มาพร้อมกับ Wi-Fi และ Bluetooth ในตัว ทำให้เป็นตัวเลือกที่ดียิ่งสำหรับโปรเจ็คอย่าง Internet of Things (IoT) ซึ่งเหมาะสำหรับทั้งผู้เริ่มต้นและผู้คิดค้นพัฒนาที่มีประสบการณ์ในการใช้ ESP32 มาก่อน ด้วย ESP32 นั้นมีแพลตฟอร์มที่เหมาะสำหรับการเรียนรู้และการสร้างโปรเจคด้านวิศวกรรมใหม่ๆ จึงเป็นเหตุผลให้ต้องมีการศึกษาเรียนรู้ข้อมูลและอุปกรณ์พื้นฐานของ ESP32 วิธีการใช้งานเริ่มต้น ตลอดจน ข้อดีและข้อเสียหรือขีดความสามารถอื่นๆ รวมไปถึงภาษาการเขียนโปรแกรมร่วมกับ ESP 32 เพื่อให้สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ส่วนประกอบสำคัญของฮาร์ดแวร์

- ESP32 Development Board ประกอบไปด้วย Dual-core Processor 32 บิท ด้วย Clock frequency of 80 to 240 MHz and สามารถทำงานได้ถึง 600 DMIPS เช่น  ESP32 DevKit, NodeMCU-ESP32 หรือ Wemos D1 Mini ESP32 ซึ่งบอร์ดมาพร้อมกับ GPIO pins เชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตแบบ Wi-Fi และ Bluetooth ในตัว

- USB Cable แบบ Micro หรือ แบบ USB-C สำหรับการเชื่อมต่อแหล่งจ่ายไฟและการใช้งานสำหรับการเขียนโปรแกรม

- Breadboard and Jumper Wires บอร์ดและสายต่อสำหรับการต่อวงจรเบื้องต้น

- Basic Components อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์พื้นฐาน เช่น ตัวต้านทาน และเซ็นเซอร์ต่างๆ ฯลฯ

- Power Supply ใช้สำหรับเป็นแหล่งจ่ายไฟที่ 3.3 หรือ 5.5 โวลต์

ส่วนประกอบสำคัญของซอฟแวร์

- Arduino IDE โปรแกรมที่ใช้งานง่ายเพียงดาวโหลดและติดตั้ง ในการเชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์

- ESP-IDF  ซอฟต์แวร์สำหรับการเขียนโปรแกรม C/C++ เหมาะสำหรับผู้ใช้ที่เริ่มมีการใช้งานซับซ้อนมากขึ้น เพื่อใช้งานกับ ESP32

- Drivers ติดตั้ง CP210x หรือ CH340 USB ไปยัง UART driver เพื่อการเชื่อมต่อระหว่างคอมพิวเตอร์กับ ESP32

- Code Editor สำหรับผู้ใช้งานที่มีการใช้งานซับซ้อนมากขึ้น ด้วย Visual Studio Code

ภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมสำหรับ ESP32

- C/C++ เป็นภาษาหลักในการใช้งาน ESP32 และการใช้งาน Arduino IDE

- MicroPython เป็นทางเลือกของผู้ที่ถนัดในการใช้งาน Python

- Lua (NodeMCU Firmware) ภาษาสำหรับการพัฒนา IoT

- JavaScript (Espruino) ใช้ในเมื่อต้องการ รัน JavaScript และสำหรับผู้ใช้งานด้านการพัฒนาเว็บไซด์

เริ่มต้นง่ายๆ ด้วย 3 ขั้นตอน (สามารถค้นหาได้ง่ายๆผ่าน Search Engine)

ขั้นตอนที่ 1 เริ่มทำการติดตั้งระบบ

- ติดตั้ง Adruino IDE หรือ ESP-IDF

- ลง ESP32 board package ใน Adruino IDE

ขั้นตอนที่ 2 เขียนโปรแกรมและอัพโหลดโปรแกรมเบื้องต้น

- เชื่อมต่อ  ESP32 กับ คอมพิวเตอร์ ผ่านทาง USB

- เปิด Adruino IDE และเขียนโปรแกรมเบื้องต้นในการใช้งาน Blink แอพพลิเคชั่น แล้วอัพโหลดไปยัง ESP 32

ขั้นตอนที่ 3 ทดลองใช้งานกับเซ็นเซอร์ต่างๆ ด้วยโค้ด

ความได้เปรียบของการใช้งาน ESP32

- ESP32 มาพร้อม Wi-Fi และ Bluetooth (แบบคลาสสิกและ BLE) เข้าด้วยกัน ทำให้เหมาะอย่างยิ่งสำหรับโครงงานโปรเจคแบบ IoT

- ESP32 มี Dual-core Processor  ช่วยให้สามารถทำงานหลายอย่างพร้อมกันและเพิ่มประสิทธิภาพได้ดียิ่งขึ้นเมื่อเปรียบเทียบกับไมโครคอนโทรลเลอร์แบบคอร์เดียว

- บอร์ด ESP32 มีราคาไม่แพง

- ESP32 ประกอบด้วย GPIO, ADC, DAC, I2C, SPI, UART, PWM และอื่นๆ ซึ่งช่วยลดความจำเป็นในการใช้ส่วนประกอบเพิ่มเติม

- ESP32 มีการใช้งานอย่างแพร่หลายและมีคอมมิวนิตี้ขนาดใหญ่ จึงทำให้สามารถเรียนรู้ได้สะดวกมากยิ่งขึ้น

โปรเจ็คต่างๆ ที่เหมาะสำหรับการใช้งานร่วมกับ ESP32 สำหรับ IOT  

การใช้งาน ESP32 ในด้านของ IOT นั้นสามารถใช้งานได้อย่างหลากหลาย อาทิ เช่น

1. บ้านอัจฉริยะ (Home Automation) ด้วยการควบคุมการใช้งานไฟฟ้าแสงสว่าง พัดลม ไวไฟ หรือ บลูทูต

2. การตรวจสอบเฝ้าระวังสิ่งแวดล้อม (Environmental Monitoring) การสร้างสถานีตรวจภูมิอากาศเบื้องต้นด้วยการวัดอุณหภูมิและความชื้น

3. โรบอท (Robotics) ใช้ในการควบคุมการทำงานของมอเตอร์ เซอร์โว และเซ็นเซอร์ต่างๆ

4. เทคโนโลยีอุปกรณ์สวมใส่ (Wearable Devices) การเชื่อมต่อในการตรวจสอบวัดข้อมูลต่างๆของร่างกาย ดังเช่น Smart watch เป็นต้น

5. ระบบควบคุมอัตโนมัติในงานอุตสาหกรรม (Industrial Automation) การตรวจสอบและติดตามการทำงานของอุปกรณ์ในอุตสาหกรรมและการเชื่อมต่อในโปรโตคอลต่างๆ

6. ระบบการรักษาความปลอดภัย(Security Systems) ใช้ในการเชื่อมต่อการล็อกประตูอัตโนมัติ การตรวจจับการเคลื่อนไหว ระบบการเฝ้าระวังอื่นๆ

7. การทำเกษตรอัจฉริยะ (Smart Agriculture) การใช้งานระบบชลประทาน การตรวจสอบความชื้นของผิวดิน เป็นต้น

สรุป

ESP32 เป็นไมโครคอนโทรลเลอร์ที่ทรงพลังและอเนกประสงค์ซึ่งเหมาะสำหรับการพัฒนา IoT โดยมี Wi-Fi และ Bluetooth ในตัว มี Dual-core Processor และอุปกรณ์ต่อพ่วงมากมาย จึงทำให้สามารถทำงานได้อย่างหลากหลาย ด้วยราคาของต้นทุนของอุปกรณ์ที่ค่อนข้างต่ำ ถึงแม้ว่าอาจต้องใช้เวลาเรียนรู้นานกว่าเมื่อเปรียบเทียบกับไมโครคอนโทรลเลอร์อื่นๆสำหรับในผู้เริ่มต้น แต่ขอบเขตและการใช้งานนั้นมีอย่างแพร่หลาย ทำให้ผู้พัฒนาทุกระดับสามารถเข้าถึงได้ ไม่ว่าจะเริ่มต้นด้วยโปรเจ็กต์ง่ายๆ เช่น การกระพริบของไฟ LED หรือการอ่านและใช้งานเซ็นเซอร์ จนสามารถพัฒนาทักษะและก้าวไปสู่แอปพลิเคชันที่ซับซ้อนมากขึ้น ดังเช่น ระบบการใช้งานอัตโนมัติในบ้าน (Home Automation System) หุ่นยนต์ (Robotics) และระบบอุตสาหกรรมอัตโนมัติ  (Industrial Automation System) เป็นต้น

Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipiscing elit. Suspendisse varius enim in eros elementum tristique. Duis cursus, mi quis viverra ornare, eros dolor interdum nulla, ut commodo diam libero vitae erat. Aenean faucibus nibh et justo cursus id rutrum lorem imperdiet. Nunc ut sem vitae risus tristique posuere.

เรามาเริ่มทำความรู้จักกับ ESP32 กันเถอะ และคู่มือสำหรับผู้เริ่มต้น

เรามาเริ่มทำความรู้จักกับ ESP32 กันเถอะ และคู่มือสำหรับผู้เริ่มต้น

ESP32: จิ๋วแต่แจ๋ว! Wi-Fi, Bluetooth พร้อมลุย IoT ในราคาเบาๆ เริ่มต้นง่าย สร้างสรรค์ได้ไม่รู้จบ!

Lorem ipsum dolor amet consectetur adipiscing elit tortor massa arcu non.

ESP32 เป็นไมโครคอนโทรลเลอร์ที่มีความหลากหลายต่อการใช้งานในราคาประหยัดที่มาพร้อมกับ Wi-Fi และ Bluetooth ในตัว ทำให้เป็นตัวเลือกที่ดียิ่งสำหรับโปรเจ็คอย่าง Internet of Things (IoT) ซึ่งเหมาะสำหรับทั้งผู้เริ่มต้นและผู้คิดค้นพัฒนาที่มีประสบการณ์ในการใช้ ESP32 มาก่อน ด้วย ESP32 นั้นมีแพลตฟอร์มที่เหมาะสำหรับการเรียนรู้และการสร้างโปรเจคด้านวิศวกรรมใหม่ๆ จึงเป็นเหตุผลให้ต้องมีการศึกษาเรียนรู้ข้อมูลและอุปกรณ์พื้นฐานของ ESP32 วิธีการใช้งานเริ่มต้น ตลอดจน ข้อดีและข้อเสียหรือขีดความสามารถอื่นๆ รวมไปถึงภาษาการเขียนโปรแกรมร่วมกับ ESP 32 เพื่อให้สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ส่วนประกอบสำคัญของฮาร์ดแวร์

- ESP32 Development Board ประกอบไปด้วย Dual-core Processor 32 บิท ด้วย Clock frequency of 80 to 240 MHz and สามารถทำงานได้ถึง 600 DMIPS เช่น  ESP32 DevKit, NodeMCU-ESP32 หรือ Wemos D1 Mini ESP32 ซึ่งบอร์ดมาพร้อมกับ GPIO pins เชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตแบบ Wi-Fi และ Bluetooth ในตัว

- USB Cable แบบ Micro หรือ แบบ USB-C สำหรับการเชื่อมต่อแหล่งจ่ายไฟและการใช้งานสำหรับการเขียนโปรแกรม

- Breadboard and Jumper Wires บอร์ดและสายต่อสำหรับการต่อวงจรเบื้องต้น

- Basic Components อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์พื้นฐาน เช่น ตัวต้านทาน และเซ็นเซอร์ต่างๆ ฯลฯ

- Power Supply ใช้สำหรับเป็นแหล่งจ่ายไฟที่ 3.3 หรือ 5.5 โวลต์

ส่วนประกอบสำคัญของซอฟแวร์

- Arduino IDE โปรแกรมที่ใช้งานง่ายเพียงดาวโหลดและติดตั้ง ในการเชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์

- ESP-IDF  ซอฟต์แวร์สำหรับการเขียนโปรแกรม C/C++ เหมาะสำหรับผู้ใช้ที่เริ่มมีการใช้งานซับซ้อนมากขึ้น เพื่อใช้งานกับ ESP32

- Drivers ติดตั้ง CP210x หรือ CH340 USB ไปยัง UART driver เพื่อการเชื่อมต่อระหว่างคอมพิวเตอร์กับ ESP32

- Code Editor สำหรับผู้ใช้งานที่มีการใช้งานซับซ้อนมากขึ้น ด้วย Visual Studio Code

ภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมสำหรับ ESP32

- C/C++ เป็นภาษาหลักในการใช้งาน ESP32 และการใช้งาน Arduino IDE

- MicroPython เป็นทางเลือกของผู้ที่ถนัดในการใช้งาน Python

- Lua (NodeMCU Firmware) ภาษาสำหรับการพัฒนา IoT

- JavaScript (Espruino) ใช้ในเมื่อต้องการ รัน JavaScript และสำหรับผู้ใช้งานด้านการพัฒนาเว็บไซด์

เริ่มต้นง่ายๆ ด้วย 3 ขั้นตอน (สามารถค้นหาได้ง่ายๆผ่าน Search Engine)

ขั้นตอนที่ 1 เริ่มทำการติดตั้งระบบ

- ติดตั้ง Adruino IDE หรือ ESP-IDF

- ลง ESP32 board package ใน Adruino IDE

ขั้นตอนที่ 2 เขียนโปรแกรมและอัพโหลดโปรแกรมเบื้องต้น

- เชื่อมต่อ  ESP32 กับ คอมพิวเตอร์ ผ่านทาง USB

- เปิด Adruino IDE และเขียนโปรแกรมเบื้องต้นในการใช้งาน Blink แอพพลิเคชั่น แล้วอัพโหลดไปยัง ESP 32

ขั้นตอนที่ 3 ทดลองใช้งานกับเซ็นเซอร์ต่างๆ ด้วยโค้ด

ความได้เปรียบของการใช้งาน ESP32

- ESP32 มาพร้อม Wi-Fi และ Bluetooth (แบบคลาสสิกและ BLE) เข้าด้วยกัน ทำให้เหมาะอย่างยิ่งสำหรับโครงงานโปรเจคแบบ IoT

- ESP32 มี Dual-core Processor  ช่วยให้สามารถทำงานหลายอย่างพร้อมกันและเพิ่มประสิทธิภาพได้ดียิ่งขึ้นเมื่อเปรียบเทียบกับไมโครคอนโทรลเลอร์แบบคอร์เดียว

- บอร์ด ESP32 มีราคาไม่แพง

- ESP32 ประกอบด้วย GPIO, ADC, DAC, I2C, SPI, UART, PWM และอื่นๆ ซึ่งช่วยลดความจำเป็นในการใช้ส่วนประกอบเพิ่มเติม

- ESP32 มีการใช้งานอย่างแพร่หลายและมีคอมมิวนิตี้ขนาดใหญ่ จึงทำให้สามารถเรียนรู้ได้สะดวกมากยิ่งขึ้น

โปรเจ็คต่างๆ ที่เหมาะสำหรับการใช้งานร่วมกับ ESP32 สำหรับ IOT  

การใช้งาน ESP32 ในด้านของ IOT นั้นสามารถใช้งานได้อย่างหลากหลาย อาทิ เช่น

1. บ้านอัจฉริยะ (Home Automation) ด้วยการควบคุมการใช้งานไฟฟ้าแสงสว่าง พัดลม ไวไฟ หรือ บลูทูต

2. การตรวจสอบเฝ้าระวังสิ่งแวดล้อม (Environmental Monitoring) การสร้างสถานีตรวจภูมิอากาศเบื้องต้นด้วยการวัดอุณหภูมิและความชื้น

3. โรบอท (Robotics) ใช้ในการควบคุมการทำงานของมอเตอร์ เซอร์โว และเซ็นเซอร์ต่างๆ

4. เทคโนโลยีอุปกรณ์สวมใส่ (Wearable Devices) การเชื่อมต่อในการตรวจสอบวัดข้อมูลต่างๆของร่างกาย ดังเช่น Smart watch เป็นต้น

5. ระบบควบคุมอัตโนมัติในงานอุตสาหกรรม (Industrial Automation) การตรวจสอบและติดตามการทำงานของอุปกรณ์ในอุตสาหกรรมและการเชื่อมต่อในโปรโตคอลต่างๆ

6. ระบบการรักษาความปลอดภัย(Security Systems) ใช้ในการเชื่อมต่อการล็อกประตูอัตโนมัติ การตรวจจับการเคลื่อนไหว ระบบการเฝ้าระวังอื่นๆ

7. การทำเกษตรอัจฉริยะ (Smart Agriculture) การใช้งานระบบชลประทาน การตรวจสอบความชื้นของผิวดิน เป็นต้น

สรุป

ESP32 เป็นไมโครคอนโทรลเลอร์ที่ทรงพลังและอเนกประสงค์ซึ่งเหมาะสำหรับการพัฒนา IoT โดยมี Wi-Fi และ Bluetooth ในตัว มี Dual-core Processor และอุปกรณ์ต่อพ่วงมากมาย จึงทำให้สามารถทำงานได้อย่างหลากหลาย ด้วยราคาของต้นทุนของอุปกรณ์ที่ค่อนข้างต่ำ ถึงแม้ว่าอาจต้องใช้เวลาเรียนรู้นานกว่าเมื่อเปรียบเทียบกับไมโครคอนโทรลเลอร์อื่นๆสำหรับในผู้เริ่มต้น แต่ขอบเขตและการใช้งานนั้นมีอย่างแพร่หลาย ทำให้ผู้พัฒนาทุกระดับสามารถเข้าถึงได้ ไม่ว่าจะเริ่มต้นด้วยโปรเจ็กต์ง่ายๆ เช่น การกระพริบของไฟ LED หรือการอ่านและใช้งานเซ็นเซอร์ จนสามารถพัฒนาทักษะและก้าวไปสู่แอปพลิเคชันที่ซับซ้อนมากขึ้น ดังเช่น ระบบการใช้งานอัตโนมัติในบ้าน (Home Automation System) หุ่นยนต์ (Robotics) และระบบอุตสาหกรรมอัตโนมัติ  (Industrial Automation System) เป็นต้น