คู่มือฉบับย่อสำหรับอุปกรณ์ที่มีระบบบนชิป

คู่มือฉบับนี้ให้ข้อมูลภาพรวมของอุปกรณ์ที่มีระบบบนชิป (SoC) เพื่อสร้างความเข้าใจเรื่องหลักการทำงานและการใช้งานเบื้องต้น

คู่มือฉบับย่อสำหรับอุปกรณ์ที่มีระบบบนชิป

ในช่วงสิบปีที่ผ่านมา วงจรรวม IC (Integral Circuits) มีความซับซ้อนและราคาแพงมากขึ้น อุตสาหกรรมทางด้านอิเล็กทรอกนิกส์จึงเริ่มนำวิธีการออกแบบและการนำกลับมาใช้อีกครั้งมาใช้ เพิ่มประสิทธิภาพและจำกัดพื้นที่ของแผงวงจร ซึ่งเรียกโดยรวมว่า การออกแบบระบบบนชิป (SoC) สามารถทำหน้าที่ได้หลากหลาย และทำหน้าที่ซับซ้อนได้ดี ประมวลผลได้รวดเร็ว อีกทั้งมีขนาดเล็กลงเมื่อเทียบกับ IC แบบเก่า ทำให้มีผลต่อการเพิ่มประสิทธิภาพโดยรวม และลดต้นทุนอีกด้วย ดังนั้น SoC จึงเป็นเทคโนโลยีที่มีทั้งประสิทธิภาพและประสิทธิผล ต่อการนำไปใช้ประกอบเป็นโมดูลที่สำคัญเช่น อุปกรณ์การแพทย์ อุตสาหกรรมยานยนต์ และอุตสาหกรรมอื่นๆ เป็นต้น

System-on-Chip (SoC) คืออะไร?

SOC คือ แพลตฟอร์มฮาร์ดแวร์สำหรับโมดูลต่างๆ ทำหน้าที่สื่อสารเชื่อมโยงระหว่างกัน ได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผล ไม่ว่าจะเป็นการทำงานในหน่วยประมวลผลกลาง พอร์ตอินพุต/เอาต์พุต หน่วยความจำที่เก็บข้อมูล การแปลงดิจิทัลเป็นแอนะล็อก ตัวแปลงอนาล็อกเป็นดิจิทัล การประมวลผลสัญญาณ การประมวลผลภาพ เป็นต้น

ด้วยการวิจัยเทคโนโลยี SoC ที่มีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น จากการที่เทคโนโลยีมีความยืดหยุ่นและความสามารถในการทำงานหลายหน้าที่แบบเรียลไทม์ไม่ ว่าจะเป็น ความเร็วในการประมวลผลสูง การประมวลผลภาพและวิดีโอ ปัญญาประดิษฐ์ (AI) เครือข่ายประสาท (Neural Network) การตรวจสอบและยืนยันความปลอดภัย ระบบพลังงาน ระบบอัตโนมัติ IoT และการแพทย์ ทำให้ SoC กลายเป็นแพลตฟอร์มฮาร์ดแวร์ ที่มีความสำคัญต่อการพัฒนาระบบต่างๆ

หลักการทำงานของ SoC ในแต่ละหน้าที่

  • หาก SoC ทำหน้าที่โปรเซสเซอร์ (Processor) ที่ควบคุมการทำงานและ ประสิทธิภาพของอุปกรณ์เช่น คอมพิวเตอร์ แล็ปท็อป เดสก์ท็อป แท็บเล็ต และสมาร์ทโฟน ให้ทำงานได้อย่างราบรื่น  โปรเซสเซอร์ (Processor) เปรียบเสมือนสมองที่สั่งการ และประมวลผลให้มีความรวดเร็วและตอบสนองได้ไวขึ้น ดังนั้นหน้าที่ SoC ในส่วนโปรเซสเซอร์ (Processor) จึงเป็นส่วนประกอบสำคัญของอุปกรณ์ คอมพิวเตอร์สมัยใหม่
  • หาก SoC ทำหน้าที่หน่วยความจำ (Memory) ที่จัดเก็บข้อมูลที่โปรเซสเซอร์ ต้องการให้เข้าถึงได้ทันที โดยการประกอบหน่วยความจำใกล้กับโปรเซสเซอร์ ทำให้การค้นหาข้อมูลรวดเร็ว และตอบสนองต่อความต้องการของข้อมูลผ่านโปรเซสเซอร์ ได้ดีขึ้น
  • หาก SoC ทำหน้าที่เชื่อมต่อและสื่อสาร (Wireless Communication) ภายในบอร์ดนั้น จะทำให้เชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตได้อย่างฉับไว และเป็นฮับการสื่อสารใน IoT: Internet of Things ได้ด้วย

ส่วนประกอบที่สำคัญของระบบบนชิป (Soc)

ส่วนประกอบทั่วไปสำหรับ SoC ประกอบไปด้วย

  1. CPU: Central Processing Unit โดยทั่วไปประกอบไปด้วยไมโครโพรเซสเซอร์
  2. GPU: Graphical Processing Unit สำหรับการดูแลเรื่องกราฟฟิก
  3. RAM หน่วยความจำ
  4. A/D Converter ในการเปลี่ยนสัญญาณอนาล็อกเป็นดิจิตอล หรือ สัญญาณดิจิตอล เป็นอนาล็อก
  5. Wi-Fi และการเชื่อมต่อสื่อสารไร้สาย

ข้อได้เปรียบเมื่อนำเทคโนโลยี SoC มาใช้

  • ลดพลังงานโดยรวม เนื่องจากเป็นการรวมวงจรต่างๆ ให้มาอยู่ในแผงเดียวและ ขนาดเล็กลงทำให้ใช้พลังงานลดลงตามไปด้วย
  • เพิ่มประสิทธิภาพโดยรวม เมื่อวางอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ขนาดเล็กลงในแผงเดียวกัน ทำให้ระยะห่างระหว่างแต่ละอุปกรณ์น้อยลง ทำให้การเรียกข้อมูลจากหน่วยความจำ มาประมวลผลได้เร็วยิ่งขึ้น
  • ลดต้นทุนโดยรวม เมื่อโมดูลมีขนาดเล็กลง อุปกรณ์แต่ละชนิดก็จะเล็กลง ทำให้ใช้ต้นทุนน้อยลง

การใช้งาน Soc ในด้านต่างๆ

SoC นำมาใช้งานได้หลากหลายประเภทและเป็นที่นิยมในหลายอุตสาหกรรม อาทิ

  • ระบบการบิน (Aircraft avionics systems) และระบบการนำทางอย่าง Navigation หรือ UAV (Unmanned Air Vehicles)
  • อุตสาหกรรมทางทหารเช่น ระบบ C4ISR (Command, Control, Communications, Computers, Intelligence, Surveillance, and Reconnaissance) ที่ช่วยด้านการรบและการสื่อสารทางบก ทางอากาศและทางทะเล
  • เครื่องคอมพิวเตอร์ต่างๆ เช่น แล็ปท็อป แท็บแล็ต โทรศัพท์มือถือ
  • Internet of Things (IoT) เช่น อุปกรณ์สมาร์ทโฮม กล้องรักษาความปลอดภัย การวัดอุณหภูมิและความชื้น การควบคุมปิด เปิด ประตู หรือลำโพงอัจฉริยะอื่นๆ
  • ความปลอดภัยทางข้อมูลเช่น เทคโนโลยีไซเบอร์และความปลอดภัยข้อมูลที่ใช้การเรียนรู้ของเครื่องจักร
  • ด้านทางการแพทย์และสุขภาพเช่น  เครื่องตรวจวัดค่าต่างๆที่คนไข้สวมใส่ สมาร์ทวอช

สรุป

SoC เป็นแพลตฟอร์มฮาร์ดแวร์ที่มีความสำคัญและเป็นประโยชน์ต่อการนำไปใช้ใน อุตสาหกรรมด้านต่างๆ จากเดิมที่ต้องแยกโมดูลเป็นแต่ละหน้าที่ของอุปกรณ์ออกมาใช้ ทำให้เปลืองพื้นที่ในการใช้งานและประสิทธิภาพไม่เพิ่มขึ้น แต่เมื่อนำ SoC มาใช้จึงรวมวงจรรวม อิเล็กทรอนิกส์ทั้งหมดไว้ในแพลตฟอร์มเดียวได้ ทำให้ประหยัดต้นทุนโดยรวม ความเร็วใน การประมวลผลเพิ่มขึ้น ทำให้มีพื้นที่เหลือใช้พัฒนาความสามารถของระบบได้มากขึ้น รวมถึงลดขนาดของอุปกรณ์ได้  ส่งผลต่อการพัฒนาอุตสาหกรรมในด้านอื่นๆ เช่น โทรศัพท์มือถือ อุปกรณ์ทางการแพทย์ หรืออุปกรณ์ทางทหาร และอีกมากมายในอนาคต

คู่มือฉบับย่อสำหรับอุปกรณ์ที่มีระบบบนชิป

คู่มือฉบับนี้ให้ข้อมูลภาพรวมของอุปกรณ์ที่มีระบบบนชิป (SoC) เพื่อสร้างความเข้าใจเรื่องหลักการทำงานและการใช้งานเบื้องต้น

นักเขียนบทความ
by 
นักเขียนบทความ
คู่มือฉบับย่อสำหรับอุปกรณ์ที่มีระบบบนชิป

คู่มือฉบับย่อสำหรับอุปกรณ์ที่มีระบบบนชิป

คู่มือฉบับนี้ให้ข้อมูลภาพรวมของอุปกรณ์ที่มีระบบบนชิป (SoC) เพื่อสร้างความเข้าใจเรื่องหลักการทำงานและการใช้งานเบื้องต้น

ในช่วงสิบปีที่ผ่านมา วงจรรวม IC (Integral Circuits) มีความซับซ้อนและราคาแพงมากขึ้น อุตสาหกรรมทางด้านอิเล็กทรอกนิกส์จึงเริ่มนำวิธีการออกแบบและการนำกลับมาใช้อีกครั้งมาใช้ เพิ่มประสิทธิภาพและจำกัดพื้นที่ของแผงวงจร ซึ่งเรียกโดยรวมว่า การออกแบบระบบบนชิป (SoC) สามารถทำหน้าที่ได้หลากหลาย และทำหน้าที่ซับซ้อนได้ดี ประมวลผลได้รวดเร็ว อีกทั้งมีขนาดเล็กลงเมื่อเทียบกับ IC แบบเก่า ทำให้มีผลต่อการเพิ่มประสิทธิภาพโดยรวม และลดต้นทุนอีกด้วย ดังนั้น SoC จึงเป็นเทคโนโลยีที่มีทั้งประสิทธิภาพและประสิทธิผล ต่อการนำไปใช้ประกอบเป็นโมดูลที่สำคัญเช่น อุปกรณ์การแพทย์ อุตสาหกรรมยานยนต์ และอุตสาหกรรมอื่นๆ เป็นต้น

System-on-Chip (SoC) คืออะไร?

SOC คือ แพลตฟอร์มฮาร์ดแวร์สำหรับโมดูลต่างๆ ทำหน้าที่สื่อสารเชื่อมโยงระหว่างกัน ได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผล ไม่ว่าจะเป็นการทำงานในหน่วยประมวลผลกลาง พอร์ตอินพุต/เอาต์พุต หน่วยความจำที่เก็บข้อมูล การแปลงดิจิทัลเป็นแอนะล็อก ตัวแปลงอนาล็อกเป็นดิจิทัล การประมวลผลสัญญาณ การประมวลผลภาพ เป็นต้น

ด้วยการวิจัยเทคโนโลยี SoC ที่มีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น จากการที่เทคโนโลยีมีความยืดหยุ่นและความสามารถในการทำงานหลายหน้าที่แบบเรียลไทม์ไม่ ว่าจะเป็น ความเร็วในการประมวลผลสูง การประมวลผลภาพและวิดีโอ ปัญญาประดิษฐ์ (AI) เครือข่ายประสาท (Neural Network) การตรวจสอบและยืนยันความปลอดภัย ระบบพลังงาน ระบบอัตโนมัติ IoT และการแพทย์ ทำให้ SoC กลายเป็นแพลตฟอร์มฮาร์ดแวร์ ที่มีความสำคัญต่อการพัฒนาระบบต่างๆ

หลักการทำงานของ SoC ในแต่ละหน้าที่

  • หาก SoC ทำหน้าที่โปรเซสเซอร์ (Processor) ที่ควบคุมการทำงานและ ประสิทธิภาพของอุปกรณ์เช่น คอมพิวเตอร์ แล็ปท็อป เดสก์ท็อป แท็บเล็ต และสมาร์ทโฟน ให้ทำงานได้อย่างราบรื่น  โปรเซสเซอร์ (Processor) เปรียบเสมือนสมองที่สั่งการ และประมวลผลให้มีความรวดเร็วและตอบสนองได้ไวขึ้น ดังนั้นหน้าที่ SoC ในส่วนโปรเซสเซอร์ (Processor) จึงเป็นส่วนประกอบสำคัญของอุปกรณ์ คอมพิวเตอร์สมัยใหม่
  • หาก SoC ทำหน้าที่หน่วยความจำ (Memory) ที่จัดเก็บข้อมูลที่โปรเซสเซอร์ ต้องการให้เข้าถึงได้ทันที โดยการประกอบหน่วยความจำใกล้กับโปรเซสเซอร์ ทำให้การค้นหาข้อมูลรวดเร็ว และตอบสนองต่อความต้องการของข้อมูลผ่านโปรเซสเซอร์ ได้ดีขึ้น
  • หาก SoC ทำหน้าที่เชื่อมต่อและสื่อสาร (Wireless Communication) ภายในบอร์ดนั้น จะทำให้เชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตได้อย่างฉับไว และเป็นฮับการสื่อสารใน IoT: Internet of Things ได้ด้วย

ส่วนประกอบที่สำคัญของระบบบนชิป (Soc)

ส่วนประกอบทั่วไปสำหรับ SoC ประกอบไปด้วย

  1. CPU: Central Processing Unit โดยทั่วไปประกอบไปด้วยไมโครโพรเซสเซอร์
  2. GPU: Graphical Processing Unit สำหรับการดูแลเรื่องกราฟฟิก
  3. RAM หน่วยความจำ
  4. A/D Converter ในการเปลี่ยนสัญญาณอนาล็อกเป็นดิจิตอล หรือ สัญญาณดิจิตอล เป็นอนาล็อก
  5. Wi-Fi และการเชื่อมต่อสื่อสารไร้สาย

ข้อได้เปรียบเมื่อนำเทคโนโลยี SoC มาใช้

  • ลดพลังงานโดยรวม เนื่องจากเป็นการรวมวงจรต่างๆ ให้มาอยู่ในแผงเดียวและ ขนาดเล็กลงทำให้ใช้พลังงานลดลงตามไปด้วย
  • เพิ่มประสิทธิภาพโดยรวม เมื่อวางอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ขนาดเล็กลงในแผงเดียวกัน ทำให้ระยะห่างระหว่างแต่ละอุปกรณ์น้อยลง ทำให้การเรียกข้อมูลจากหน่วยความจำ มาประมวลผลได้เร็วยิ่งขึ้น
  • ลดต้นทุนโดยรวม เมื่อโมดูลมีขนาดเล็กลง อุปกรณ์แต่ละชนิดก็จะเล็กลง ทำให้ใช้ต้นทุนน้อยลง

การใช้งาน Soc ในด้านต่างๆ

SoC นำมาใช้งานได้หลากหลายประเภทและเป็นที่นิยมในหลายอุตสาหกรรม อาทิ

  • ระบบการบิน (Aircraft avionics systems) และระบบการนำทางอย่าง Navigation หรือ UAV (Unmanned Air Vehicles)
  • อุตสาหกรรมทางทหารเช่น ระบบ C4ISR (Command, Control, Communications, Computers, Intelligence, Surveillance, and Reconnaissance) ที่ช่วยด้านการรบและการสื่อสารทางบก ทางอากาศและทางทะเล
  • เครื่องคอมพิวเตอร์ต่างๆ เช่น แล็ปท็อป แท็บแล็ต โทรศัพท์มือถือ
  • Internet of Things (IoT) เช่น อุปกรณ์สมาร์ทโฮม กล้องรักษาความปลอดภัย การวัดอุณหภูมิและความชื้น การควบคุมปิด เปิด ประตู หรือลำโพงอัจฉริยะอื่นๆ
  • ความปลอดภัยทางข้อมูลเช่น เทคโนโลยีไซเบอร์และความปลอดภัยข้อมูลที่ใช้การเรียนรู้ของเครื่องจักร
  • ด้านทางการแพทย์และสุขภาพเช่น  เครื่องตรวจวัดค่าต่างๆที่คนไข้สวมใส่ สมาร์ทวอช

สรุป

SoC เป็นแพลตฟอร์มฮาร์ดแวร์ที่มีความสำคัญและเป็นประโยชน์ต่อการนำไปใช้ใน อุตสาหกรรมด้านต่างๆ จากเดิมที่ต้องแยกโมดูลเป็นแต่ละหน้าที่ของอุปกรณ์ออกมาใช้ ทำให้เปลืองพื้นที่ในการใช้งานและประสิทธิภาพไม่เพิ่มขึ้น แต่เมื่อนำ SoC มาใช้จึงรวมวงจรรวม อิเล็กทรอนิกส์ทั้งหมดไว้ในแพลตฟอร์มเดียวได้ ทำให้ประหยัดต้นทุนโดยรวม ความเร็วใน การประมวลผลเพิ่มขึ้น ทำให้มีพื้นที่เหลือใช้พัฒนาความสามารถของระบบได้มากขึ้น รวมถึงลดขนาดของอุปกรณ์ได้  ส่งผลต่อการพัฒนาอุตสาหกรรมในด้านอื่นๆ เช่น โทรศัพท์มือถือ อุปกรณ์ทางการแพทย์ หรืออุปกรณ์ทางทหาร และอีกมากมายในอนาคต

Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipiscing elit. Suspendisse varius enim in eros elementum tristique. Duis cursus, mi quis viverra ornare, eros dolor interdum nulla, ut commodo diam libero vitae erat. Aenean faucibus nibh et justo cursus id rutrum lorem imperdiet. Nunc ut sem vitae risus tristique posuere.

คู่มือฉบับย่อสำหรับอุปกรณ์ที่มีระบบบนชิป

คู่มือฉบับย่อสำหรับอุปกรณ์ที่มีระบบบนชิป

คู่มือฉบับนี้ให้ข้อมูลภาพรวมของอุปกรณ์ที่มีระบบบนชิป (SoC) เพื่อสร้างความเข้าใจเรื่องหลักการทำงานและการใช้งานเบื้องต้น

Lorem ipsum dolor amet consectetur adipiscing elit tortor massa arcu non.

ในช่วงสิบปีที่ผ่านมา วงจรรวม IC (Integral Circuits) มีความซับซ้อนและราคาแพงมากขึ้น อุตสาหกรรมทางด้านอิเล็กทรอกนิกส์จึงเริ่มนำวิธีการออกแบบและการนำกลับมาใช้อีกครั้งมาใช้ เพิ่มประสิทธิภาพและจำกัดพื้นที่ของแผงวงจร ซึ่งเรียกโดยรวมว่า การออกแบบระบบบนชิป (SoC) สามารถทำหน้าที่ได้หลากหลาย และทำหน้าที่ซับซ้อนได้ดี ประมวลผลได้รวดเร็ว อีกทั้งมีขนาดเล็กลงเมื่อเทียบกับ IC แบบเก่า ทำให้มีผลต่อการเพิ่มประสิทธิภาพโดยรวม และลดต้นทุนอีกด้วย ดังนั้น SoC จึงเป็นเทคโนโลยีที่มีทั้งประสิทธิภาพและประสิทธิผล ต่อการนำไปใช้ประกอบเป็นโมดูลที่สำคัญเช่น อุปกรณ์การแพทย์ อุตสาหกรรมยานยนต์ และอุตสาหกรรมอื่นๆ เป็นต้น

System-on-Chip (SoC) คืออะไร?

SOC คือ แพลตฟอร์มฮาร์ดแวร์สำหรับโมดูลต่างๆ ทำหน้าที่สื่อสารเชื่อมโยงระหว่างกัน ได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผล ไม่ว่าจะเป็นการทำงานในหน่วยประมวลผลกลาง พอร์ตอินพุต/เอาต์พุต หน่วยความจำที่เก็บข้อมูล การแปลงดิจิทัลเป็นแอนะล็อก ตัวแปลงอนาล็อกเป็นดิจิทัล การประมวลผลสัญญาณ การประมวลผลภาพ เป็นต้น

ด้วยการวิจัยเทคโนโลยี SoC ที่มีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น จากการที่เทคโนโลยีมีความยืดหยุ่นและความสามารถในการทำงานหลายหน้าที่แบบเรียลไทม์ไม่ ว่าจะเป็น ความเร็วในการประมวลผลสูง การประมวลผลภาพและวิดีโอ ปัญญาประดิษฐ์ (AI) เครือข่ายประสาท (Neural Network) การตรวจสอบและยืนยันความปลอดภัย ระบบพลังงาน ระบบอัตโนมัติ IoT และการแพทย์ ทำให้ SoC กลายเป็นแพลตฟอร์มฮาร์ดแวร์ ที่มีความสำคัญต่อการพัฒนาระบบต่างๆ

หลักการทำงานของ SoC ในแต่ละหน้าที่

  • หาก SoC ทำหน้าที่โปรเซสเซอร์ (Processor) ที่ควบคุมการทำงานและ ประสิทธิภาพของอุปกรณ์เช่น คอมพิวเตอร์ แล็ปท็อป เดสก์ท็อป แท็บเล็ต และสมาร์ทโฟน ให้ทำงานได้อย่างราบรื่น  โปรเซสเซอร์ (Processor) เปรียบเสมือนสมองที่สั่งการ และประมวลผลให้มีความรวดเร็วและตอบสนองได้ไวขึ้น ดังนั้นหน้าที่ SoC ในส่วนโปรเซสเซอร์ (Processor) จึงเป็นส่วนประกอบสำคัญของอุปกรณ์ คอมพิวเตอร์สมัยใหม่
  • หาก SoC ทำหน้าที่หน่วยความจำ (Memory) ที่จัดเก็บข้อมูลที่โปรเซสเซอร์ ต้องการให้เข้าถึงได้ทันที โดยการประกอบหน่วยความจำใกล้กับโปรเซสเซอร์ ทำให้การค้นหาข้อมูลรวดเร็ว และตอบสนองต่อความต้องการของข้อมูลผ่านโปรเซสเซอร์ ได้ดีขึ้น
  • หาก SoC ทำหน้าที่เชื่อมต่อและสื่อสาร (Wireless Communication) ภายในบอร์ดนั้น จะทำให้เชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตได้อย่างฉับไว และเป็นฮับการสื่อสารใน IoT: Internet of Things ได้ด้วย

ส่วนประกอบที่สำคัญของระบบบนชิป (Soc)

ส่วนประกอบทั่วไปสำหรับ SoC ประกอบไปด้วย

  1. CPU: Central Processing Unit โดยทั่วไปประกอบไปด้วยไมโครโพรเซสเซอร์
  2. GPU: Graphical Processing Unit สำหรับการดูแลเรื่องกราฟฟิก
  3. RAM หน่วยความจำ
  4. A/D Converter ในการเปลี่ยนสัญญาณอนาล็อกเป็นดิจิตอล หรือ สัญญาณดิจิตอล เป็นอนาล็อก
  5. Wi-Fi และการเชื่อมต่อสื่อสารไร้สาย

ข้อได้เปรียบเมื่อนำเทคโนโลยี SoC มาใช้

  • ลดพลังงานโดยรวม เนื่องจากเป็นการรวมวงจรต่างๆ ให้มาอยู่ในแผงเดียวและ ขนาดเล็กลงทำให้ใช้พลังงานลดลงตามไปด้วย
  • เพิ่มประสิทธิภาพโดยรวม เมื่อวางอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ขนาดเล็กลงในแผงเดียวกัน ทำให้ระยะห่างระหว่างแต่ละอุปกรณ์น้อยลง ทำให้การเรียกข้อมูลจากหน่วยความจำ มาประมวลผลได้เร็วยิ่งขึ้น
  • ลดต้นทุนโดยรวม เมื่อโมดูลมีขนาดเล็กลง อุปกรณ์แต่ละชนิดก็จะเล็กลง ทำให้ใช้ต้นทุนน้อยลง

การใช้งาน Soc ในด้านต่างๆ

SoC นำมาใช้งานได้หลากหลายประเภทและเป็นที่นิยมในหลายอุตสาหกรรม อาทิ

  • ระบบการบิน (Aircraft avionics systems) และระบบการนำทางอย่าง Navigation หรือ UAV (Unmanned Air Vehicles)
  • อุตสาหกรรมทางทหารเช่น ระบบ C4ISR (Command, Control, Communications, Computers, Intelligence, Surveillance, and Reconnaissance) ที่ช่วยด้านการรบและการสื่อสารทางบก ทางอากาศและทางทะเล
  • เครื่องคอมพิวเตอร์ต่างๆ เช่น แล็ปท็อป แท็บแล็ต โทรศัพท์มือถือ
  • Internet of Things (IoT) เช่น อุปกรณ์สมาร์ทโฮม กล้องรักษาความปลอดภัย การวัดอุณหภูมิและความชื้น การควบคุมปิด เปิด ประตู หรือลำโพงอัจฉริยะอื่นๆ
  • ความปลอดภัยทางข้อมูลเช่น เทคโนโลยีไซเบอร์และความปลอดภัยข้อมูลที่ใช้การเรียนรู้ของเครื่องจักร
  • ด้านทางการแพทย์และสุขภาพเช่น  เครื่องตรวจวัดค่าต่างๆที่คนไข้สวมใส่ สมาร์ทวอช

สรุป

SoC เป็นแพลตฟอร์มฮาร์ดแวร์ที่มีความสำคัญและเป็นประโยชน์ต่อการนำไปใช้ใน อุตสาหกรรมด้านต่างๆ จากเดิมที่ต้องแยกโมดูลเป็นแต่ละหน้าที่ของอุปกรณ์ออกมาใช้ ทำให้เปลืองพื้นที่ในการใช้งานและประสิทธิภาพไม่เพิ่มขึ้น แต่เมื่อนำ SoC มาใช้จึงรวมวงจรรวม อิเล็กทรอนิกส์ทั้งหมดไว้ในแพลตฟอร์มเดียวได้ ทำให้ประหยัดต้นทุนโดยรวม ความเร็วใน การประมวลผลเพิ่มขึ้น ทำให้มีพื้นที่เหลือใช้พัฒนาความสามารถของระบบได้มากขึ้น รวมถึงลดขนาดของอุปกรณ์ได้  ส่งผลต่อการพัฒนาอุตสาหกรรมในด้านอื่นๆ เช่น โทรศัพท์มือถือ อุปกรณ์ทางการแพทย์ หรืออุปกรณ์ทางทหาร และอีกมากมายในอนาคต