การใช้ Python ในระบบสมองกลฝังตัว:ข้อได้เปรียบและความท้าทายของการเขียนโปรแกรมระดับสูง

Embedded systems: สมองจิ๋วในทุกสิ่ง! แต่เดิมใช้ภาษาต่ำ แต่ Python มาแรง! สะดวก เร็ว แต่มีข้อจำกัด มาดูกัน!

การใช้ Python ในระบบสมองกลฝังตัว:ข้อได้เปรียบและความท้าทายของการเขียนโปรแกรมระดับสูง

ระบบสมองกลฝังตัว หรือ ระบบฝังตัว (Embedded Systems) เป็นระบบคอมพิวเตอร์เฉพาะทางที่ออกแบบมาเพื่อทำงานเฉพาะภายในอุปกรณ์ขนาดเล็กหรือระบบการทำงานขนาดใหญ่ แต่เดิมโดยทั่วไปนั้น ระบบฝังตัวจะอาศัยภาษาการเขียนโปรแกรมระดับต่ำ เช่น ภาษาแอสเซมบลี เนื่องจากมีประสิทธิภาพและความสามารถในการทำงานบนฮาร์ดแวร์ที่มีทรัพยากรจำกัด อย่างไรก็ตาม ด้วยความสามารถที่เพิ่มขึ้นของไมโครคอนโทรลเลอร์สมัยใหม่และการเติบโตของแพลตฟอร์ม เช่น Raspberry Pi ทำให้ Python ซึ่งเป็นภาษาการเขียนโปรแกรมระดับสูง ได้กลายมาเป็นตัวเลือกที่เหมาะสมสำหรับการพัฒนาระบบฝังตัว การเปลี่ยนแปลงนี้มีทั้งข้อดีและข้อเสียโดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อใช้ภาษาขั้นสูง เช่น Python ในสภาพแวดล้อมที่ทรัพยากรจำกัด แต่อย่างไรก็ตาม Python ก็ยังเป็นทางเลือกสำคัญที่จำเป็นในการพัฒนาระบบสมองกลฝังตัวต่อไป

การพัฒนาและเติบโตขึ้นของ Python ต่อการใช้งานกับระบบฝังตัว

Python เป็นภาษาโปรแกรมระดับสูงที่มีความยืดหยุ่นและเป็นที่รู้จักในเรื่องความเรียบง่าย อ่านง่าย และมีไลบรารีจำนวนมาก แม้ว่าปกติจะไม่ได้เกี่ยวข้องกับระบบฝังตัว แต่มีการนำ Python มาใช้ในด้านนี้เพิ่มขึ้นอย่างมากในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา ส่วนใหญ่เป็นผลมาจากการพัฒนาการใช้งาน Python อย่างง่ายๆ อาทิเช่น MicroPython และ CircuitPython ซึ่งได้รับการปรับให้เหมาะสมสำหรับไมโครคอนโทรลเลอร์และแพลตฟอร์มของระบบฝังตัวอื่นๆ การใช้งานเหล่านี้ช่วยให้นักพัฒนาสามารถเขียนโค้ด Python สำหรับอุปกรณ์ที่มีหน่วยความจำและความสามารถในการประมวลผลที่จำกัด ดังเช่น ESP32, STM32 และ Raspberry Pi Pico 

ดังนั้น การใช้ Python ในระบบฝังตัวนั้นจึงมีความน่าสนใจเป็นพิเศษสำหรับแอปพลิเคชันที่เน้นในการประมวลผลอย่างรวดเร็ว ความสะดวกในการใช้งาน และการบูรณาการร่วมกับระบบที่ความซับซ้อนสูง อย่างไรก็ตาม Python นั้นยังนำไปสู่ความท้าทายที่เกี่ยวข้องในด้านของประสิทธิภาพ การใช้ทรัพยากร และข้อจำกัดของฮาร์ดแวร์ ซึ่งทำให้บทบาทของ Python จึงมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการพัฒนาระบบฝังตัวสมัยใหม่

ประโยชน์ของการใช้ Python ในระบบฝังตัว

- ความสะดวกในการใช้งานและการอ่าน (Ease of Use and Readability) Python ขึ้นชื่อในเรื่องรูปแบบการเขียนที่เรียบง่ายและเข้าใจได้ ซึ่งทำให้ทั้งผู้เริ่มต้นและนักพัฒนาที่มีประสบการณ์สามารถใช้งานได้ดี อีกทั้งด้วยความสามารถในการอ่านได้ง่ายนั้น ช่วยลดโอกาสในการเกิดข้อผิดพลาดจากการเขียนและทำให้ง่ายต่อการดูแลและแก้ไขโค้ด (Debugging) ซึ่งมีประโยชน์อย่างยิ่งในการพัฒนาระบบฝังตัว ซึ่งการแก้ไขอาจเป็นเรื่องท้าทายเนื่องจากข้อจำกัดด้านฮาร์ดแวร์

- การสร้างต้นแบบได้อย่างรวดเร็ว (Rapid Prototyping) Python ช่วยให้นักพัฒนามุ่งเน้นไปที่ปัญหาที่จะแก้ไขมากกว่าที่จะต้องกังวลเกี่ยวกับรายละเอียดทางเทคนิคของการจัดการหน่วยความจำหรือการทำงานของระดับระบบปฏิบัติการและด้วยไลบรารีที่ครอบคลุมของ Python ช่วยให้สร้างต้นแบบได้อย่างรวดเร็ว ช่วยให้นักพัฒนาสามารถทดสอบแนวคิดต่างๆ ได้อย่างรวดเร็ว ซึ่งมีประโยชน์อย่างยิ่งในระบบฝังตัวที่ถ้ามีการเปลี่ยนฮาร์ดแวร์อาจจะทำให้มีค่าใช้จ่ายที่สูงและใช้เวลานาน ด้วยภาษา Python นี้ นักพัฒนาสามารถมุ่งเน้นไปที่ตรรกะของแอปพลิเคชันได้โดยไม่ต้องติดขัด ช่วยลดความซับซ้อนในการเขียนโปรแกรม

- การพัฒนาข้ามแพลตฟอร์ม (Cross-Platform Development) Python ช่วยให้นักพัฒนาสามารถเขียนและทดสอบโค้ดบนเดสก์ท็อปหรือแล็ปท็อปก่อนนำไปใช้งานในระบบฝังตัว ด้วยความสามารถข้ามแพลตฟอร์มนี้ ช่วยเพิ่มความเร็วในการพัฒนาและลดความเสี่ยงจากข้อผิดพลาด ตัวอย่างเช่น นักพัฒนาสามารถจำลองการประมวลผลข้อมูลเซ็นเซอร์บนพีซีแล้วนำโค้ดเดียวกันไปใช้งานกับไมโครคอนโทรลเลอร์โดยปรับเปลี่ยนเพียงเล็กน้อย

- Data Structure ที่ซับซ้อน และ Library ที่มีฟังก์ชันการทำงานหลากหลาย (Rich Ecosystem and Libraries) Python มีไลบรารีที่หลากหลายและเฟรมเวิร์กที่มากมาย ซึ่งหลายตัวสามารถนำไปใช้งานในระบบฝังตัวได้ ตัวอย่างเช่น การสร้างเครือข่าย (Networking) ด้วย ไลบรารี เช่น socket และ urequest ช่วยให้สามารถสื่อสารกับบริการคลาวด์หรืออุปกรณ์อื่นได้ หรือ การประมวลผลข้อมูลที่สามารถใช้ไลบรารี อย่าง numpy และ pandas (บนแพลตฟอร์มที่มีประสิทธิภาพสูงกว่า) เพื่อให้สามารถวิเคราะห์ข้อมูลได้ เป็นต้น

- Python มีการใช้งานในวงกว้าง กล่าวคือ Python มีชุมชนขนาดใหญ่และมีผู้ใช้งานอยู่ตลอดเวลา ซึ่งรวมทั้งทรัพยากร บทเรียน และฟอรัมสำหรับการแก้ไขปัญหาต่างๆมากมาย อีกทั้งครือข่ายสนับสนุนนี้มีสำคัญอย่างยิ่งสำหรับนักพัฒนาระบบฝังตัวที่ต้องเผชิญกับความท้าทายที่เกี่ยวข้องกับการใช้งานร่วมกันระหว่างฮาร์ดแวร์กับซอฟต์แวร์ 

- การบูรณาการกับ IoT และบริการคลาวด์ โดย Python ถูกใช้กันอย่างแพร่หลายในแอปพลิเคชัน IoT (Internet of Things) ซึ่งระบบฝังตัวจำเป็นต้องสื่อสารกับแพลตฟอร์มคลาวด์หรือระบบระดับสูงอื่นๆ ไลบรารีเช่น MQTT และ HTTP ทำให้ง่ายต่อการนำโปรโตคอลการสื่อสารไปใช้ได้ง่าย ส่งผลให้บูรณาการกับระบบ IoT ได้อย่างราบรื่น

ความท้าทายของการใช้ Python ในระบบฝังตัว

1. อุปสรรคด้านการใช้ภาษาในการเขียนโปรแกรมในการรันหรือคอมไพล์ (Performance of Programming Language Barrier) กล่าวคือ ถึงแม้ว่า ภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมอย่าง Python จะค่อนข้างใช้ภาษาที่ง่ายต่อการอ่านและกะทัดรัด แต่เมื่อเทียบเคียงกับภาษาโปรแกรมอย่าง ภาษา C C++ หรือ C # นั้น ภาษา Python จำเป็นต้องมีการ รัน บรรทัดต่อบรรทัดด้วยตัวแปล ซึ่งแตกต่างจาก ภาษา C ที่ โค้ดที่เขียนนั้นจะถูกแปลเป็น  Machine Code  ก่อนการรัน ส่งผลต่อความเร็วและประสิทธิภาพของการประมวลผลโดยรวม

2. อุปสรรคด้านความเร็วในการประมวลผลจากโค้ด ( Obstruction in Speed) จากสาเหตุที่การเขียนโปรแกรมของ ภาษา Python ต้องมีการ รัน บรรทัดต่อบรรทัดด้วยตัวแปลนั่นเอง จึงทำให้ใช้เวลาในการรันมากกว่า ภาษาโปรแกรมแบบอื่น

3. อุปสรรคด้านการใช้งานเรื่อง Pointers หรือตัวแปรพิเศษ หมายถึงการใช้งานตัวแปรที่ความจุตัวแปรพิเศษต่างๆ (Memory Address) โดยไม่ได้ระบุค่าของตัวแปรโดยตรง ซึ่งในการใช้งานนั้น ภาษา C ได้เปรียบในการที่จะสามารถแก้ไขและจัดการตัวแปรนั้นได้โดยตรง ซึ่งในภาษาของ Python นั้น ไม่มีรองรับการใช้งานในเรื่อง pointer

4. อุปสรรคด้านการดีบัค หรือการแก้ไขโค้ด เนื่องจากโค้ดหรือการประกาศตัวแปรของภาษา C นั้น สามารถแยกออกได้อย่างชัดเจน โดยการใช้งานฟังก์ชั่นของการย้อนกลับของตัวแปร หรือ error codes ซึ่งแตกต่างจาก ด้วยภาษา Python เมื่อเกิดการ errorจึงมีความซับซ้อนมากกว่า ซึ่งอาจจะต้องใช้ฟังก์ชั่นข้างนอกอื่นมาช่วยในการดีบัคโค้ด

5. อุปสรรคด้านการใช้งานร่วมกับอุปกรณ์ Hardware ซึ่งการใช้งาน Feature  ของ Inline Assembly นั้น เพื่อที่จะเชื่อมต่อกับ Embedded System นั้น ภาษา C สามารถจัดการไดโดยตรง .ซึ่งแตกต่างจาก ภาษา Python ไม่ได้รองรับฟังก์ชั่นนี้ ต้องมีการอินพุตจาก library ข้างนอก

6. อุปสรรคเรื่องอื่นๆ  ยกตัวอย่าง เช่น ความนิยมของการใช้งานของด้าน Embedded System หรือสมองกลฝังตัวนั้น โดยปกติทั่วไป นักพัฒนาจะใช้ภาษา C เป็นหลักในการเขียนโปรแกรม ในส่วนของ Python นั้นจะเน้นหนักไปทางด้านของ Data Sciences

การใช้ Python ในระบบสมองกลฝังตัว:ข้อได้เปรียบและความท้าทายของการเขียนโปรแกรมระดับสูง

Embedded systems: สมองจิ๋วในทุกสิ่ง! แต่เดิมใช้ภาษาต่ำ แต่ Python มาแรง! สะดวก เร็ว แต่มีข้อจำกัด มาดูกัน!

นักเขียนบทความ
by 
นักเขียนบทความ
การใช้ Python ในระบบสมองกลฝังตัว:ข้อได้เปรียบและความท้าทายของการเขียนโปรแกรมระดับสูง

การใช้ Python ในระบบสมองกลฝังตัว:ข้อได้เปรียบและความท้าทายของการเขียนโปรแกรมระดับสูง

Embedded systems: สมองจิ๋วในทุกสิ่ง! แต่เดิมใช้ภาษาต่ำ แต่ Python มาแรง! สะดวก เร็ว แต่มีข้อจำกัด มาดูกัน!

ระบบสมองกลฝังตัว หรือ ระบบฝังตัว (Embedded Systems) เป็นระบบคอมพิวเตอร์เฉพาะทางที่ออกแบบมาเพื่อทำงานเฉพาะภายในอุปกรณ์ขนาดเล็กหรือระบบการทำงานขนาดใหญ่ แต่เดิมโดยทั่วไปนั้น ระบบฝังตัวจะอาศัยภาษาการเขียนโปรแกรมระดับต่ำ เช่น ภาษาแอสเซมบลี เนื่องจากมีประสิทธิภาพและความสามารถในการทำงานบนฮาร์ดแวร์ที่มีทรัพยากรจำกัด อย่างไรก็ตาม ด้วยความสามารถที่เพิ่มขึ้นของไมโครคอนโทรลเลอร์สมัยใหม่และการเติบโตของแพลตฟอร์ม เช่น Raspberry Pi ทำให้ Python ซึ่งเป็นภาษาการเขียนโปรแกรมระดับสูง ได้กลายมาเป็นตัวเลือกที่เหมาะสมสำหรับการพัฒนาระบบฝังตัว การเปลี่ยนแปลงนี้มีทั้งข้อดีและข้อเสียโดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อใช้ภาษาขั้นสูง เช่น Python ในสภาพแวดล้อมที่ทรัพยากรจำกัด แต่อย่างไรก็ตาม Python ก็ยังเป็นทางเลือกสำคัญที่จำเป็นในการพัฒนาระบบสมองกลฝังตัวต่อไป

การพัฒนาและเติบโตขึ้นของ Python ต่อการใช้งานกับระบบฝังตัว

Python เป็นภาษาโปรแกรมระดับสูงที่มีความยืดหยุ่นและเป็นที่รู้จักในเรื่องความเรียบง่าย อ่านง่าย และมีไลบรารีจำนวนมาก แม้ว่าปกติจะไม่ได้เกี่ยวข้องกับระบบฝังตัว แต่มีการนำ Python มาใช้ในด้านนี้เพิ่มขึ้นอย่างมากในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา ส่วนใหญ่เป็นผลมาจากการพัฒนาการใช้งาน Python อย่างง่ายๆ อาทิเช่น MicroPython และ CircuitPython ซึ่งได้รับการปรับให้เหมาะสมสำหรับไมโครคอนโทรลเลอร์และแพลตฟอร์มของระบบฝังตัวอื่นๆ การใช้งานเหล่านี้ช่วยให้นักพัฒนาสามารถเขียนโค้ด Python สำหรับอุปกรณ์ที่มีหน่วยความจำและความสามารถในการประมวลผลที่จำกัด ดังเช่น ESP32, STM32 และ Raspberry Pi Pico 

ดังนั้น การใช้ Python ในระบบฝังตัวนั้นจึงมีความน่าสนใจเป็นพิเศษสำหรับแอปพลิเคชันที่เน้นในการประมวลผลอย่างรวดเร็ว ความสะดวกในการใช้งาน และการบูรณาการร่วมกับระบบที่ความซับซ้อนสูง อย่างไรก็ตาม Python นั้นยังนำไปสู่ความท้าทายที่เกี่ยวข้องในด้านของประสิทธิภาพ การใช้ทรัพยากร และข้อจำกัดของฮาร์ดแวร์ ซึ่งทำให้บทบาทของ Python จึงมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการพัฒนาระบบฝังตัวสมัยใหม่

ประโยชน์ของการใช้ Python ในระบบฝังตัว

- ความสะดวกในการใช้งานและการอ่าน (Ease of Use and Readability) Python ขึ้นชื่อในเรื่องรูปแบบการเขียนที่เรียบง่ายและเข้าใจได้ ซึ่งทำให้ทั้งผู้เริ่มต้นและนักพัฒนาที่มีประสบการณ์สามารถใช้งานได้ดี อีกทั้งด้วยความสามารถในการอ่านได้ง่ายนั้น ช่วยลดโอกาสในการเกิดข้อผิดพลาดจากการเขียนและทำให้ง่ายต่อการดูแลและแก้ไขโค้ด (Debugging) ซึ่งมีประโยชน์อย่างยิ่งในการพัฒนาระบบฝังตัว ซึ่งการแก้ไขอาจเป็นเรื่องท้าทายเนื่องจากข้อจำกัดด้านฮาร์ดแวร์

- การสร้างต้นแบบได้อย่างรวดเร็ว (Rapid Prototyping) Python ช่วยให้นักพัฒนามุ่งเน้นไปที่ปัญหาที่จะแก้ไขมากกว่าที่จะต้องกังวลเกี่ยวกับรายละเอียดทางเทคนิคของการจัดการหน่วยความจำหรือการทำงานของระดับระบบปฏิบัติการและด้วยไลบรารีที่ครอบคลุมของ Python ช่วยให้สร้างต้นแบบได้อย่างรวดเร็ว ช่วยให้นักพัฒนาสามารถทดสอบแนวคิดต่างๆ ได้อย่างรวดเร็ว ซึ่งมีประโยชน์อย่างยิ่งในระบบฝังตัวที่ถ้ามีการเปลี่ยนฮาร์ดแวร์อาจจะทำให้มีค่าใช้จ่ายที่สูงและใช้เวลานาน ด้วยภาษา Python นี้ นักพัฒนาสามารถมุ่งเน้นไปที่ตรรกะของแอปพลิเคชันได้โดยไม่ต้องติดขัด ช่วยลดความซับซ้อนในการเขียนโปรแกรม

- การพัฒนาข้ามแพลตฟอร์ม (Cross-Platform Development) Python ช่วยให้นักพัฒนาสามารถเขียนและทดสอบโค้ดบนเดสก์ท็อปหรือแล็ปท็อปก่อนนำไปใช้งานในระบบฝังตัว ด้วยความสามารถข้ามแพลตฟอร์มนี้ ช่วยเพิ่มความเร็วในการพัฒนาและลดความเสี่ยงจากข้อผิดพลาด ตัวอย่างเช่น นักพัฒนาสามารถจำลองการประมวลผลข้อมูลเซ็นเซอร์บนพีซีแล้วนำโค้ดเดียวกันไปใช้งานกับไมโครคอนโทรลเลอร์โดยปรับเปลี่ยนเพียงเล็กน้อย

- Data Structure ที่ซับซ้อน และ Library ที่มีฟังก์ชันการทำงานหลากหลาย (Rich Ecosystem and Libraries) Python มีไลบรารีที่หลากหลายและเฟรมเวิร์กที่มากมาย ซึ่งหลายตัวสามารถนำไปใช้งานในระบบฝังตัวได้ ตัวอย่างเช่น การสร้างเครือข่าย (Networking) ด้วย ไลบรารี เช่น socket และ urequest ช่วยให้สามารถสื่อสารกับบริการคลาวด์หรืออุปกรณ์อื่นได้ หรือ การประมวลผลข้อมูลที่สามารถใช้ไลบรารี อย่าง numpy และ pandas (บนแพลตฟอร์มที่มีประสิทธิภาพสูงกว่า) เพื่อให้สามารถวิเคราะห์ข้อมูลได้ เป็นต้น

- Python มีการใช้งานในวงกว้าง กล่าวคือ Python มีชุมชนขนาดใหญ่และมีผู้ใช้งานอยู่ตลอดเวลา ซึ่งรวมทั้งทรัพยากร บทเรียน และฟอรัมสำหรับการแก้ไขปัญหาต่างๆมากมาย อีกทั้งครือข่ายสนับสนุนนี้มีสำคัญอย่างยิ่งสำหรับนักพัฒนาระบบฝังตัวที่ต้องเผชิญกับความท้าทายที่เกี่ยวข้องกับการใช้งานร่วมกันระหว่างฮาร์ดแวร์กับซอฟต์แวร์ 

- การบูรณาการกับ IoT และบริการคลาวด์ โดย Python ถูกใช้กันอย่างแพร่หลายในแอปพลิเคชัน IoT (Internet of Things) ซึ่งระบบฝังตัวจำเป็นต้องสื่อสารกับแพลตฟอร์มคลาวด์หรือระบบระดับสูงอื่นๆ ไลบรารีเช่น MQTT และ HTTP ทำให้ง่ายต่อการนำโปรโตคอลการสื่อสารไปใช้ได้ง่าย ส่งผลให้บูรณาการกับระบบ IoT ได้อย่างราบรื่น

ความท้าทายของการใช้ Python ในระบบฝังตัว

1. อุปสรรคด้านการใช้ภาษาในการเขียนโปรแกรมในการรันหรือคอมไพล์ (Performance of Programming Language Barrier) กล่าวคือ ถึงแม้ว่า ภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมอย่าง Python จะค่อนข้างใช้ภาษาที่ง่ายต่อการอ่านและกะทัดรัด แต่เมื่อเทียบเคียงกับภาษาโปรแกรมอย่าง ภาษา C C++ หรือ C # นั้น ภาษา Python จำเป็นต้องมีการ รัน บรรทัดต่อบรรทัดด้วยตัวแปล ซึ่งแตกต่างจาก ภาษา C ที่ โค้ดที่เขียนนั้นจะถูกแปลเป็น  Machine Code  ก่อนการรัน ส่งผลต่อความเร็วและประสิทธิภาพของการประมวลผลโดยรวม

2. อุปสรรคด้านความเร็วในการประมวลผลจากโค้ด ( Obstruction in Speed) จากสาเหตุที่การเขียนโปรแกรมของ ภาษา Python ต้องมีการ รัน บรรทัดต่อบรรทัดด้วยตัวแปลนั่นเอง จึงทำให้ใช้เวลาในการรันมากกว่า ภาษาโปรแกรมแบบอื่น

3. อุปสรรคด้านการใช้งานเรื่อง Pointers หรือตัวแปรพิเศษ หมายถึงการใช้งานตัวแปรที่ความจุตัวแปรพิเศษต่างๆ (Memory Address) โดยไม่ได้ระบุค่าของตัวแปรโดยตรง ซึ่งในการใช้งานนั้น ภาษา C ได้เปรียบในการที่จะสามารถแก้ไขและจัดการตัวแปรนั้นได้โดยตรง ซึ่งในภาษาของ Python นั้น ไม่มีรองรับการใช้งานในเรื่อง pointer

4. อุปสรรคด้านการดีบัค หรือการแก้ไขโค้ด เนื่องจากโค้ดหรือการประกาศตัวแปรของภาษา C นั้น สามารถแยกออกได้อย่างชัดเจน โดยการใช้งานฟังก์ชั่นของการย้อนกลับของตัวแปร หรือ error codes ซึ่งแตกต่างจาก ด้วยภาษา Python เมื่อเกิดการ errorจึงมีความซับซ้อนมากกว่า ซึ่งอาจจะต้องใช้ฟังก์ชั่นข้างนอกอื่นมาช่วยในการดีบัคโค้ด

5. อุปสรรคด้านการใช้งานร่วมกับอุปกรณ์ Hardware ซึ่งการใช้งาน Feature  ของ Inline Assembly นั้น เพื่อที่จะเชื่อมต่อกับ Embedded System นั้น ภาษา C สามารถจัดการไดโดยตรง .ซึ่งแตกต่างจาก ภาษา Python ไม่ได้รองรับฟังก์ชั่นนี้ ต้องมีการอินพุตจาก library ข้างนอก

6. อุปสรรคเรื่องอื่นๆ  ยกตัวอย่าง เช่น ความนิยมของการใช้งานของด้าน Embedded System หรือสมองกลฝังตัวนั้น โดยปกติทั่วไป นักพัฒนาจะใช้ภาษา C เป็นหลักในการเขียนโปรแกรม ในส่วนของ Python นั้นจะเน้นหนักไปทางด้านของ Data Sciences

Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipiscing elit. Suspendisse varius enim in eros elementum tristique. Duis cursus, mi quis viverra ornare, eros dolor interdum nulla, ut commodo diam libero vitae erat. Aenean faucibus nibh et justo cursus id rutrum lorem imperdiet. Nunc ut sem vitae risus tristique posuere.

การใช้ Python ในระบบสมองกลฝังตัว:ข้อได้เปรียบและความท้าทายของการเขียนโปรแกรมระดับสูง

การใช้ Python ในระบบสมองกลฝังตัว:ข้อได้เปรียบและความท้าทายของการเขียนโปรแกรมระดับสูง

Embedded systems: สมองจิ๋วในทุกสิ่ง! แต่เดิมใช้ภาษาต่ำ แต่ Python มาแรง! สะดวก เร็ว แต่มีข้อจำกัด มาดูกัน!

Lorem ipsum dolor amet consectetur adipiscing elit tortor massa arcu non.

ระบบสมองกลฝังตัว หรือ ระบบฝังตัว (Embedded Systems) เป็นระบบคอมพิวเตอร์เฉพาะทางที่ออกแบบมาเพื่อทำงานเฉพาะภายในอุปกรณ์ขนาดเล็กหรือระบบการทำงานขนาดใหญ่ แต่เดิมโดยทั่วไปนั้น ระบบฝังตัวจะอาศัยภาษาการเขียนโปรแกรมระดับต่ำ เช่น ภาษาแอสเซมบลี เนื่องจากมีประสิทธิภาพและความสามารถในการทำงานบนฮาร์ดแวร์ที่มีทรัพยากรจำกัด อย่างไรก็ตาม ด้วยความสามารถที่เพิ่มขึ้นของไมโครคอนโทรลเลอร์สมัยใหม่และการเติบโตของแพลตฟอร์ม เช่น Raspberry Pi ทำให้ Python ซึ่งเป็นภาษาการเขียนโปรแกรมระดับสูง ได้กลายมาเป็นตัวเลือกที่เหมาะสมสำหรับการพัฒนาระบบฝังตัว การเปลี่ยนแปลงนี้มีทั้งข้อดีและข้อเสียโดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อใช้ภาษาขั้นสูง เช่น Python ในสภาพแวดล้อมที่ทรัพยากรจำกัด แต่อย่างไรก็ตาม Python ก็ยังเป็นทางเลือกสำคัญที่จำเป็นในการพัฒนาระบบสมองกลฝังตัวต่อไป

การพัฒนาและเติบโตขึ้นของ Python ต่อการใช้งานกับระบบฝังตัว

Python เป็นภาษาโปรแกรมระดับสูงที่มีความยืดหยุ่นและเป็นที่รู้จักในเรื่องความเรียบง่าย อ่านง่าย และมีไลบรารีจำนวนมาก แม้ว่าปกติจะไม่ได้เกี่ยวข้องกับระบบฝังตัว แต่มีการนำ Python มาใช้ในด้านนี้เพิ่มขึ้นอย่างมากในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา ส่วนใหญ่เป็นผลมาจากการพัฒนาการใช้งาน Python อย่างง่ายๆ อาทิเช่น MicroPython และ CircuitPython ซึ่งได้รับการปรับให้เหมาะสมสำหรับไมโครคอนโทรลเลอร์และแพลตฟอร์มของระบบฝังตัวอื่นๆ การใช้งานเหล่านี้ช่วยให้นักพัฒนาสามารถเขียนโค้ด Python สำหรับอุปกรณ์ที่มีหน่วยความจำและความสามารถในการประมวลผลที่จำกัด ดังเช่น ESP32, STM32 และ Raspberry Pi Pico 

ดังนั้น การใช้ Python ในระบบฝังตัวนั้นจึงมีความน่าสนใจเป็นพิเศษสำหรับแอปพลิเคชันที่เน้นในการประมวลผลอย่างรวดเร็ว ความสะดวกในการใช้งาน และการบูรณาการร่วมกับระบบที่ความซับซ้อนสูง อย่างไรก็ตาม Python นั้นยังนำไปสู่ความท้าทายที่เกี่ยวข้องในด้านของประสิทธิภาพ การใช้ทรัพยากร และข้อจำกัดของฮาร์ดแวร์ ซึ่งทำให้บทบาทของ Python จึงมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการพัฒนาระบบฝังตัวสมัยใหม่

ประโยชน์ของการใช้ Python ในระบบฝังตัว

- ความสะดวกในการใช้งานและการอ่าน (Ease of Use and Readability) Python ขึ้นชื่อในเรื่องรูปแบบการเขียนที่เรียบง่ายและเข้าใจได้ ซึ่งทำให้ทั้งผู้เริ่มต้นและนักพัฒนาที่มีประสบการณ์สามารถใช้งานได้ดี อีกทั้งด้วยความสามารถในการอ่านได้ง่ายนั้น ช่วยลดโอกาสในการเกิดข้อผิดพลาดจากการเขียนและทำให้ง่ายต่อการดูแลและแก้ไขโค้ด (Debugging) ซึ่งมีประโยชน์อย่างยิ่งในการพัฒนาระบบฝังตัว ซึ่งการแก้ไขอาจเป็นเรื่องท้าทายเนื่องจากข้อจำกัดด้านฮาร์ดแวร์

- การสร้างต้นแบบได้อย่างรวดเร็ว (Rapid Prototyping) Python ช่วยให้นักพัฒนามุ่งเน้นไปที่ปัญหาที่จะแก้ไขมากกว่าที่จะต้องกังวลเกี่ยวกับรายละเอียดทางเทคนิคของการจัดการหน่วยความจำหรือการทำงานของระดับระบบปฏิบัติการและด้วยไลบรารีที่ครอบคลุมของ Python ช่วยให้สร้างต้นแบบได้อย่างรวดเร็ว ช่วยให้นักพัฒนาสามารถทดสอบแนวคิดต่างๆ ได้อย่างรวดเร็ว ซึ่งมีประโยชน์อย่างยิ่งในระบบฝังตัวที่ถ้ามีการเปลี่ยนฮาร์ดแวร์อาจจะทำให้มีค่าใช้จ่ายที่สูงและใช้เวลานาน ด้วยภาษา Python นี้ นักพัฒนาสามารถมุ่งเน้นไปที่ตรรกะของแอปพลิเคชันได้โดยไม่ต้องติดขัด ช่วยลดความซับซ้อนในการเขียนโปรแกรม

- การพัฒนาข้ามแพลตฟอร์ม (Cross-Platform Development) Python ช่วยให้นักพัฒนาสามารถเขียนและทดสอบโค้ดบนเดสก์ท็อปหรือแล็ปท็อปก่อนนำไปใช้งานในระบบฝังตัว ด้วยความสามารถข้ามแพลตฟอร์มนี้ ช่วยเพิ่มความเร็วในการพัฒนาและลดความเสี่ยงจากข้อผิดพลาด ตัวอย่างเช่น นักพัฒนาสามารถจำลองการประมวลผลข้อมูลเซ็นเซอร์บนพีซีแล้วนำโค้ดเดียวกันไปใช้งานกับไมโครคอนโทรลเลอร์โดยปรับเปลี่ยนเพียงเล็กน้อย

- Data Structure ที่ซับซ้อน และ Library ที่มีฟังก์ชันการทำงานหลากหลาย (Rich Ecosystem and Libraries) Python มีไลบรารีที่หลากหลายและเฟรมเวิร์กที่มากมาย ซึ่งหลายตัวสามารถนำไปใช้งานในระบบฝังตัวได้ ตัวอย่างเช่น การสร้างเครือข่าย (Networking) ด้วย ไลบรารี เช่น socket และ urequest ช่วยให้สามารถสื่อสารกับบริการคลาวด์หรืออุปกรณ์อื่นได้ หรือ การประมวลผลข้อมูลที่สามารถใช้ไลบรารี อย่าง numpy และ pandas (บนแพลตฟอร์มที่มีประสิทธิภาพสูงกว่า) เพื่อให้สามารถวิเคราะห์ข้อมูลได้ เป็นต้น

- Python มีการใช้งานในวงกว้าง กล่าวคือ Python มีชุมชนขนาดใหญ่และมีผู้ใช้งานอยู่ตลอดเวลา ซึ่งรวมทั้งทรัพยากร บทเรียน และฟอรัมสำหรับการแก้ไขปัญหาต่างๆมากมาย อีกทั้งครือข่ายสนับสนุนนี้มีสำคัญอย่างยิ่งสำหรับนักพัฒนาระบบฝังตัวที่ต้องเผชิญกับความท้าทายที่เกี่ยวข้องกับการใช้งานร่วมกันระหว่างฮาร์ดแวร์กับซอฟต์แวร์ 

- การบูรณาการกับ IoT และบริการคลาวด์ โดย Python ถูกใช้กันอย่างแพร่หลายในแอปพลิเคชัน IoT (Internet of Things) ซึ่งระบบฝังตัวจำเป็นต้องสื่อสารกับแพลตฟอร์มคลาวด์หรือระบบระดับสูงอื่นๆ ไลบรารีเช่น MQTT และ HTTP ทำให้ง่ายต่อการนำโปรโตคอลการสื่อสารไปใช้ได้ง่าย ส่งผลให้บูรณาการกับระบบ IoT ได้อย่างราบรื่น

ความท้าทายของการใช้ Python ในระบบฝังตัว

1. อุปสรรคด้านการใช้ภาษาในการเขียนโปรแกรมในการรันหรือคอมไพล์ (Performance of Programming Language Barrier) กล่าวคือ ถึงแม้ว่า ภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมอย่าง Python จะค่อนข้างใช้ภาษาที่ง่ายต่อการอ่านและกะทัดรัด แต่เมื่อเทียบเคียงกับภาษาโปรแกรมอย่าง ภาษา C C++ หรือ C # นั้น ภาษา Python จำเป็นต้องมีการ รัน บรรทัดต่อบรรทัดด้วยตัวแปล ซึ่งแตกต่างจาก ภาษา C ที่ โค้ดที่เขียนนั้นจะถูกแปลเป็น  Machine Code  ก่อนการรัน ส่งผลต่อความเร็วและประสิทธิภาพของการประมวลผลโดยรวม

2. อุปสรรคด้านความเร็วในการประมวลผลจากโค้ด ( Obstruction in Speed) จากสาเหตุที่การเขียนโปรแกรมของ ภาษา Python ต้องมีการ รัน บรรทัดต่อบรรทัดด้วยตัวแปลนั่นเอง จึงทำให้ใช้เวลาในการรันมากกว่า ภาษาโปรแกรมแบบอื่น

3. อุปสรรคด้านการใช้งานเรื่อง Pointers หรือตัวแปรพิเศษ หมายถึงการใช้งานตัวแปรที่ความจุตัวแปรพิเศษต่างๆ (Memory Address) โดยไม่ได้ระบุค่าของตัวแปรโดยตรง ซึ่งในการใช้งานนั้น ภาษา C ได้เปรียบในการที่จะสามารถแก้ไขและจัดการตัวแปรนั้นได้โดยตรง ซึ่งในภาษาของ Python นั้น ไม่มีรองรับการใช้งานในเรื่อง pointer

4. อุปสรรคด้านการดีบัค หรือการแก้ไขโค้ด เนื่องจากโค้ดหรือการประกาศตัวแปรของภาษา C นั้น สามารถแยกออกได้อย่างชัดเจน โดยการใช้งานฟังก์ชั่นของการย้อนกลับของตัวแปร หรือ error codes ซึ่งแตกต่างจาก ด้วยภาษา Python เมื่อเกิดการ errorจึงมีความซับซ้อนมากกว่า ซึ่งอาจจะต้องใช้ฟังก์ชั่นข้างนอกอื่นมาช่วยในการดีบัคโค้ด

5. อุปสรรคด้านการใช้งานร่วมกับอุปกรณ์ Hardware ซึ่งการใช้งาน Feature  ของ Inline Assembly นั้น เพื่อที่จะเชื่อมต่อกับ Embedded System นั้น ภาษา C สามารถจัดการไดโดยตรง .ซึ่งแตกต่างจาก ภาษา Python ไม่ได้รองรับฟังก์ชั่นนี้ ต้องมีการอินพุตจาก library ข้างนอก

6. อุปสรรคเรื่องอื่นๆ  ยกตัวอย่าง เช่น ความนิยมของการใช้งานของด้าน Embedded System หรือสมองกลฝังตัวนั้น โดยปกติทั่วไป นักพัฒนาจะใช้ภาษา C เป็นหลักในการเขียนโปรแกรม ในส่วนของ Python นั้นจะเน้นหนักไปทางด้านของ Data Sciences