ภาพรวมของกระบวนการออกแบบชิปเซมิคอนดักเตอร์ VLSI: จากแนวคิดสู่ความสำเร็จ

(ศึกษาเกี่ยวกับกระบวนการออกแบบและการผลิตชิปเซมิคอนดักเตอร์)

ภาพรวมของกระบวนการออกแบบชิปเซมิคอนดักเตอร์ VLSI: จากแนวคิดสู่ความสำเร็จ

คำจำกัดความกระบวนการเซมิคอนดักเตอร์ VLSI:

VLSI (Very Large Scale Integration) เป็นกระบวนการที่รวมทรานซิสเตอร์นับล้านถึงพันล้านตัวไว้ในชิปตัวเดียว เพื่อสร้างระบบวงจรไฟฟ้าที่ซับซ้อน อุตสาหกรรมการผลิตชิปเซมิคอนดักเตอร์มีบทบาทสำคัญอย่างยิ่งในเทคโนโลยีสมัยใหม่ โดยการใช้เพื่อผลิตอุปกรณ์ต่างๆ เช่น สมาร์ทโฟนและคอมพิวเตอร์ วิศวกรที่ทำงานในอุตสาหกรรมเซมิคอนดักเตอร์จำเป็นต้องเข้าใจและจับใจความสำคัญทุกขั้นตอน ในกระบวนการผลิตเซมิคอนดักเตอร์ได้ เริ่มตั้งแต่แนวคิดเริ่มต้นตลอดจนการสร้างและผลิต (Tape out)

การวิเคราะห์และออกแบบโครงสร้างวงจร (การกำหนดสเปกของระบบและการออกแบบสถาปัตยกรรม):

ขั้นตอนแรกในกระบวนการออกแบบ VLSI คือ กำหนดข้อกำหนดของผลิตภัณฑ์และระบบ ข้อกำหนดเหล่านี้จะกำหนดฟังก์ชันและประสิทธิภาพของชิป ซึ่งได้รับอิทธิพลจากความต้องการของผลิตภัณฑ์ตั้งแต่ต้นทางถึงปลายทาง ในขั้นตอนนี้ ความต้องการถูกแบ่งเป็น 2 ส่วนหลัก:

  • การออกแบบระดับระบบ: ในขั้นตอนนี้ ข้อกำหนดทางเทคนิคระดับสูงของระบบจะถูกกำหนด ซึ่งรวมถึง: ความต้องการด้านฟังก์ชัน ประสิทธิภาพ ขนาดชิป กำลังไฟ และงบประมาณ
  • การออกแบบสถาปัตยกรรมไมโครชิป: หลังจากกำหนดข้อกำหนดทางเทคนิคแล้ว จะออกแบบเส้นทางข้อมูล การจัดสรรหน่วยความจำ การจัดสรรพลังงาน และวิธีการสื่อสาร

การออกแบบ RTL (Register Transfer Level):

ในการดำเนินการออกแบบ RTL เราใช้ภาษาโปรแกรม HDLs (Hardware Description Languages) เช่น Verilog และ VHDL กำหนดวิธีการส่งข้อมูลผ่านรีจิสเตอร์ (Register) และวิธีการดำเนินการต่าง ๆ 

ในขั้นตอนนี้การออกแบบฟังก์ชันการทำงานของไมโครชิปเป็นสิ่งที่ถูกเน้นยํ้า และให้ความสำคัญ เพื่อให้มั่นใจว่า ข้อมูลจะถูกส่งระหว่างส่วนประกอบต่างๆ อย่างถูกต้อง

การตรวจสอบและทดสอบ (Verification):

ในระหว่างกระบวนการออกแบบไมโครชิป การตรวจสอบและทดสอบถือเป็นสิ่งสำคัญเพื่อให้แน่ใจว่าการออกแบบถูกต้อง การตรวจสอบและทดสอบใช้เวลาส่วนใหญ่ในกระบวนการออกแบบ VLSI โดยอาจใช้เวลาราวๆ 70% ของกระบวนการ ส่วนการออกแบบ RTL เราใช้เครื่องมือต่างๆ เช่น ModelSim, Cadence Xcelium, Icarus Verilog และ Synopsys VCS จำลองและดีบั๊ก RTL

การสังเคราะห์การออกแบบลอจิก (Synthesis):

เมื่อการออกแบบ RTL ได้รับการตรวจสอบและทดสอบแล้ว เราจะเปลี่ยน RTL ระดับสูงเป็นรายชื่อโครงข่ายเกต (Gate-level netlist) รายชื่อนี้จะอธิบายรายละเอียดการแสดงผลของเกตลอจิก และการเชื่อมต่อของมัน ในการสังเคราะห์การออกแบบลอจิก (Logic Synthesis): เราใช้เครื่องมือซอฟต์แวร์ เช่น Synopsis Compiler หรือ Cadence Genus แปลงรหัส RTL ให้เป็นเกตลอจิกและฟลิปฟลอป รวมถึงสนับสนุนการเพิ่มประสิทธิภาพด้านพื้นที่ พลังงาน และเวลา

รายชื่อโครงข่ายเกต (Gate-level netlist): การออกแบบลอจิกหลังการสังเคราะห์จะถูกแสดงในรูปแบบเกตลอจิก (เช่น AND, OR, NOT)

DFT (Design for Test):

นักออกแบบผนวก DFT เข้ากับกระบวนการออกแบบ เพื่อให้วิศวกรการผลิตสามารถทดสอบชิปได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยไม่ต้องกังวลเกี่ยวกับฟังก์ชันการทำงานของวงจรที่อาจเกิดข้อผิดพลาดบางประการเช่น ลัดวงจร เปิดวงจร การต่อกราวด์ (GND) หรือการต่อแหล่งพลังงาน VCC ขั้นตอนนี้ทำให้การทดสอบข้อบกพร่องครอบคลุมขึ้น และทำให้ตรวจสอบชิปได้อย่างคุ้มค่า

  • Scan chains: เป็นเทคนิคหนึ่งใน DFT ที่ใช้ในการทดสอบสัญญาณเกตที่เชื่อมต่อกันเป็นลูกโซ่
  • Built-in Self-Test (BIST): เป็นเทคนิคทดสอบวงจรใน DFT ที่ใช้ในการตรวจสอบฟังก์ชัน และคำสั่งของตนเองโดยอัตโนมัติ

การออกแบบทางกายภาพของชิป (Physical Design):

หลังการอธิบายลอจิก วิธีการที่เกตเชื่อมต่อและทำงานร่วมกันแล้ว ในขั้นตอนนี้ เราจะเปลี่ยนให้เป็นรูปแบบทางกายภาพผ่านกระบวนการออกแบบทางกายภาพ (Physical Design) ขั้นตอนนี้เป็นการทำให้แน่ใจว่าการออกแบบสอดคล้องกับข้อจำกัดด้านพื้นที่ และแก้ไขปัญหาสัญญาณและเวลา

การออกแบบทางกายภาพประกอบด้วยหลายขั้นตอนย่อย:

  • การวางแผนชั้น (Floor planning): เป็นการกำหนดตำแหน่งและวิธีการวางบล็อกต่าง ๆ (เช่น หน่วยความจำ, ประตูตรรกะ ฯลฯ) บนพื้นผิวของชิป ขั้นตอนนี้มีความสำคัญมากเพราะสามารถส่งผลกระทบต่อประสิทธิภาพของทุกขั้นตอนถัดไป และยังส่งผลต่อคุณภาพสุดท้ายของไมโครชิปด้วย
  • การวางเซลล์ (Placement): ขั้นตอนนี้จะกำหนดตำแหน่งทางกายภาพสำหรับประตูตรรกะและเซลล์มาตรฐานแต่ละตัว โดยมุ่งเน้นไปที่เวลาในการส่งข้อมูลและความหนาแน่นของเซลล์เป็นหลัก
  • CTS (การสังเคราะห์ต้นไม้นาฬิกา): เป็นการออกแบบเครือข่ายการกระจายนาฬิกาเพื่อให้แน่ใจว่าองค์ประกอบทั้งหมดที่ใช้สัญญาณนาฬิกาเดียวกันได้รับสัญญาณพร้อมกัน
  • การกำหนดเส้นทาง (Routing): การเชื่อมต่อเซลล์ด้วยสายสัญญาณและสัญญาณเวลาโดยใช้สายโลหะ ขั้นตอนนี้ช่วยให้แน่ใจว่าการออกแบบตรงตามข้อกำหนดด้านความสมบูรณ์ของสัญญาณและเวลา

การวิเคราะห์เวลาแบบคงที่ (Static-timing analysis, STA):

การวิเคราะห์เวลาแบบคงที่ (STA) เป็นวิธีที่ใช้ในการตรวจสอบประสิทธิภาพด้านเวลาของวงจรไฟฟ้า โดยไม่จำเป็นต้องจำลองการเคลื่อนไหวของสัญญาณจริง STA มีความสำคัญอย่างมากในกระบวนการออกแบบ VLSI เนื่องจากช่วยให้มั่นใจได้ว่าวงจรจะสามารถตอบสนองข้อกำหนดด้านเวลาได้อย่างถูกต้อง เพื่อให้วงจรทำงานตามข้อกำหนดที่ตั้งไว้และสอดคล้องกับความเร็วสัญญาณนาฬิกาที่ต้องการ

สำหรับการวิเคราะห์เส้นทางการเดินของสัญญาณทั้งหมด สามารถใช้เครื่องมือต่าง ๆ เช่น Synopsys PrimeTime หรือ Cadence Tempus ข้อมูลที่ได้รับจากการวิเคราะห์นี้จะถูกนำมาใช้เพื่อปรับปรุงและแก้ไขการออกแบบให้เหมาะสม โดยเฉพาะในส่วนที่เกี่ยวข้องกับ Slack, Setup Time และ Hold Time

การตรวจสอบและยืนยันหลังการออกแบบทางกายภาพ (DRC, LVS, Antenna Check, IR Drop, SI Check):

ในระหว่างการออกแบบทางกายภาพ (Physical Design) สำหรับวงจรไมโครชิป จำเป็นที่จะต้องดำเนินการตรวจสอบความถูกต้องและประสิทธิภาพของวงจรอย่างสม่ำเสมอ เมื่อพบข้อผิดพลาดก็จะสามารถแก้ไขได้ เพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์สุดท้ายที่สมบูรณ์พร้อมประสิทธิภาพตามที่ต้องการ มีข้อกำหนดและกฎหลายอย่างที่ต้องปฏิบัติตามระหว่างกระบวนการออกแบบทางกายภาพสำหรับ ไมโครชิป VLSI:

การตรวจสอบกฎการออกแบบ (Design Rule Check, DRC):

กระบวนการตรวจสอบนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้มั่นใจว่าการออกแบบทางกายภาพของไมโครชิปสอดคล้องกับกฎระเบียบที่กำหนดโดยโรงงานผู้ผลิตชิ้นส่วนเซมิคอนดักเตอร์ กฎพื้นฐานที่ควรพิจารณาอาจรวมถึงระยะห่างขั้นต่ำระหว่างชั้นโลหะ ความกว้างของเส้นสัญญาณ และขนาดของ via เป็นต้น การตรวจสอบเหล่านี้มีความสำคัญเพื่อป้องกันปัญหาที่อาจเกิดขึ้นในระหว่างกระบวนการผลิตและการประมวลผล รวมถึงการลดความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นหลังจากผลิตภัณฑ์เสร็จสมบูรณ์

การเปรียบเทียบระหว่างเลย์เอาท์กับโครงร่าง (Layout vs Schematic, LVS):

นี่เป็นขั้นตอนสำคัญในการออกแบบ VLSI ที่ช่วยให้มั่นใจว่าการออกแบบทางกายภาพสอดคล้องกับแผนผังวงจร (schematic) หรือ netlist ต้นฉบับ ในขั้นตอนนี้จะตรวจสอบข้อผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้น เช่น การเชื่อมต่อที่ไม่ตรงกัน (Connectivity mismatch) การขาดหรือล้นของอุปกรณ์ (Missing/extra devices) และพารามิเตอร์ที่ไม่ตรงกัน (Parameter mismatches) การเปรียบเทียบนี้มีความสำคัญเพื่อให้แน่ใจว่าวงจรทำงานตามที่ออกแบบไว้และเพื่อป้องกันปัญหาที่อาจเกิดขึ้นในระหว่างการผลิต

การตรวจสอบวัดเสาอากาศ (Antenna Check):

นี่เป็นกระบวนการที่ใช้ในการตรวจสอบการออกแบบทางกายภาพเพื่อป้องกันการสะสมของประจุไฟฟ้าที่มากเกินไปบนการเชื่อมต่อโลหะที่ยาวเกินไป ปรากฏการณ์นี้เรียกว่า "เสาอากาศ" ซึ่งอาจทำให้เกิดความเสียหายต่อทรานซิสเตอร์ในวงจรไมโครชิปได้

IR Drop:
เป็นปรากฏการณ์ที่เกิดการลดลงของแรงดันไฟฟ้าในเครือข่ายจ่ายไฟฟ้าเนื่องจากความต้านทานของสายตัวนำและกระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่าน ซึ่งอาจทำให้ส่วนต่างๆ ของชิปได้รับพลังงานไม่เพียงพอ ส่งผลให้ประสิทธิภาพลดลง การเปลี่ยนแปลงเวลาไม่ถูกต้อง และการทำงานผิดพลาดได้ เพื่อวิเคราะห์ IR Drop เราสามารถใช้เครื่องมืออย่าง Redhawk หรือ Voltus

การตรวจสอบความสมบูรณ์ของสัญญาณ (Signal Integrity Check, SI Check):

ขั้นตอนนี้มีความสำคัญในการตรวจสอบว่าคุณภาพของสัญญาณไฟฟ้าในเชื่อมต่อของชิปมีความคงรูปทรงและเวลาไว้อย่างถูกต้องตามที่กำหนด โดยไม่ถูกรบกวนจากสัญญาณอื่นๆ ปรากฏการณ์การรบกวนนี้เกิดจากสัญญาณในสายที่อยู่ใกล้กันซึ่งอาจทำให้เกิดการรบกวนระหว่างกัน เพื่อวิเคราะห์การโต้ตอบระหว่างสัญญาณและเพื่อให้มั่นใจว่ามีการรบกวนระหว่างสายให้น้อยที่สุด ในขั้นตอนนี้ เครื่องมือที่ใช้ในการวิเคราะห์คือ PrimeTime SI (จาก Synopsis) หรือ Tempus SI (จาก Cadence)

Sign off และ Tape-out:

  • Sign-off: หมายถึงกระบวนการตรวจสอบและยืนยันก่อนการ Tape-out เพื่อให้มั่นใจว่าการออกแบบตอบสนองต่อข้อจำกัดด้านประสิทธิภาพ พลังงาน พื้นที่ และการผลิตทั้งหมด
  • Tape-out: เป็นขั้นตอนสุดท้ายในกระบวนการออกแบบ VLSI การออกแบบเสร็จสิ้นและส่งไปยังโรงงานผลิตเซมิคอนดักเตอร์ (Foundry) ขั้นตอนนี้เป็นการเสร็จสมบูรณ์ของทุกขั้นตอนการออกแบบ รวมถึงการตรวจสอบ (Verification) และการออกแบบทางกายภาพ (Physical design) จากนั้นจึงสร้างข้อมูลเลย์เอาท์สุดท้ายเพื่อเริ่มการผลิตไมโครชิป

บทความที่เกี่ยวข้อง

บทความ
November 1, 2024

ภาพรวมของกระบวนการออกแบบชิปเซมิคอนดักเตอร์ VLSI: จากแนวคิดสู่ความสำเร็จ

(ศึกษาเกี่ยวกับกระบวนการออกแบบและการผลิตชิปเซมิคอนดักเตอร์)

นักเขียนบทความ
by 
นักเขียนบทความ
ภาพรวมของกระบวนการออกแบบชิปเซมิคอนดักเตอร์ VLSI: จากแนวคิดสู่ความสำเร็จ

ภาพรวมของกระบวนการออกแบบชิปเซมิคอนดักเตอร์ VLSI: จากแนวคิดสู่ความสำเร็จ

(ศึกษาเกี่ยวกับกระบวนการออกแบบและการผลิตชิปเซมิคอนดักเตอร์)

คำจำกัดความกระบวนการเซมิคอนดักเตอร์ VLSI:

VLSI (Very Large Scale Integration) เป็นกระบวนการที่รวมทรานซิสเตอร์นับล้านถึงพันล้านตัวไว้ในชิปตัวเดียว เพื่อสร้างระบบวงจรไฟฟ้าที่ซับซ้อน อุตสาหกรรมการผลิตชิปเซมิคอนดักเตอร์มีบทบาทสำคัญอย่างยิ่งในเทคโนโลยีสมัยใหม่ โดยการใช้เพื่อผลิตอุปกรณ์ต่างๆ เช่น สมาร์ทโฟนและคอมพิวเตอร์ วิศวกรที่ทำงานในอุตสาหกรรมเซมิคอนดักเตอร์จำเป็นต้องเข้าใจและจับใจความสำคัญทุกขั้นตอน ในกระบวนการผลิตเซมิคอนดักเตอร์ได้ เริ่มตั้งแต่แนวคิดเริ่มต้นตลอดจนการสร้างและผลิต (Tape out)

การวิเคราะห์และออกแบบโครงสร้างวงจร (การกำหนดสเปกของระบบและการออกแบบสถาปัตยกรรม):

ขั้นตอนแรกในกระบวนการออกแบบ VLSI คือ กำหนดข้อกำหนดของผลิตภัณฑ์และระบบ ข้อกำหนดเหล่านี้จะกำหนดฟังก์ชันและประสิทธิภาพของชิป ซึ่งได้รับอิทธิพลจากความต้องการของผลิตภัณฑ์ตั้งแต่ต้นทางถึงปลายทาง ในขั้นตอนนี้ ความต้องการถูกแบ่งเป็น 2 ส่วนหลัก:

  • การออกแบบระดับระบบ: ในขั้นตอนนี้ ข้อกำหนดทางเทคนิคระดับสูงของระบบจะถูกกำหนด ซึ่งรวมถึง: ความต้องการด้านฟังก์ชัน ประสิทธิภาพ ขนาดชิป กำลังไฟ และงบประมาณ
  • การออกแบบสถาปัตยกรรมไมโครชิป: หลังจากกำหนดข้อกำหนดทางเทคนิคแล้ว จะออกแบบเส้นทางข้อมูล การจัดสรรหน่วยความจำ การจัดสรรพลังงาน และวิธีการสื่อสาร

การออกแบบ RTL (Register Transfer Level):

ในการดำเนินการออกแบบ RTL เราใช้ภาษาโปรแกรม HDLs (Hardware Description Languages) เช่น Verilog และ VHDL กำหนดวิธีการส่งข้อมูลผ่านรีจิสเตอร์ (Register) และวิธีการดำเนินการต่าง ๆ 

ในขั้นตอนนี้การออกแบบฟังก์ชันการทำงานของไมโครชิปเป็นสิ่งที่ถูกเน้นยํ้า และให้ความสำคัญ เพื่อให้มั่นใจว่า ข้อมูลจะถูกส่งระหว่างส่วนประกอบต่างๆ อย่างถูกต้อง

การตรวจสอบและทดสอบ (Verification):

ในระหว่างกระบวนการออกแบบไมโครชิป การตรวจสอบและทดสอบถือเป็นสิ่งสำคัญเพื่อให้แน่ใจว่าการออกแบบถูกต้อง การตรวจสอบและทดสอบใช้เวลาส่วนใหญ่ในกระบวนการออกแบบ VLSI โดยอาจใช้เวลาราวๆ 70% ของกระบวนการ ส่วนการออกแบบ RTL เราใช้เครื่องมือต่างๆ เช่น ModelSim, Cadence Xcelium, Icarus Verilog และ Synopsys VCS จำลองและดีบั๊ก RTL

การสังเคราะห์การออกแบบลอจิก (Synthesis):

เมื่อการออกแบบ RTL ได้รับการตรวจสอบและทดสอบแล้ว เราจะเปลี่ยน RTL ระดับสูงเป็นรายชื่อโครงข่ายเกต (Gate-level netlist) รายชื่อนี้จะอธิบายรายละเอียดการแสดงผลของเกตลอจิก และการเชื่อมต่อของมัน ในการสังเคราะห์การออกแบบลอจิก (Logic Synthesis): เราใช้เครื่องมือซอฟต์แวร์ เช่น Synopsis Compiler หรือ Cadence Genus แปลงรหัส RTL ให้เป็นเกตลอจิกและฟลิปฟลอป รวมถึงสนับสนุนการเพิ่มประสิทธิภาพด้านพื้นที่ พลังงาน และเวลา

รายชื่อโครงข่ายเกต (Gate-level netlist): การออกแบบลอจิกหลังการสังเคราะห์จะถูกแสดงในรูปแบบเกตลอจิก (เช่น AND, OR, NOT)

DFT (Design for Test):

นักออกแบบผนวก DFT เข้ากับกระบวนการออกแบบ เพื่อให้วิศวกรการผลิตสามารถทดสอบชิปได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยไม่ต้องกังวลเกี่ยวกับฟังก์ชันการทำงานของวงจรที่อาจเกิดข้อผิดพลาดบางประการเช่น ลัดวงจร เปิดวงจร การต่อกราวด์ (GND) หรือการต่อแหล่งพลังงาน VCC ขั้นตอนนี้ทำให้การทดสอบข้อบกพร่องครอบคลุมขึ้น และทำให้ตรวจสอบชิปได้อย่างคุ้มค่า

  • Scan chains: เป็นเทคนิคหนึ่งใน DFT ที่ใช้ในการทดสอบสัญญาณเกตที่เชื่อมต่อกันเป็นลูกโซ่
  • Built-in Self-Test (BIST): เป็นเทคนิคทดสอบวงจรใน DFT ที่ใช้ในการตรวจสอบฟังก์ชัน และคำสั่งของตนเองโดยอัตโนมัติ

การออกแบบทางกายภาพของชิป (Physical Design):

หลังการอธิบายลอจิก วิธีการที่เกตเชื่อมต่อและทำงานร่วมกันแล้ว ในขั้นตอนนี้ เราจะเปลี่ยนให้เป็นรูปแบบทางกายภาพผ่านกระบวนการออกแบบทางกายภาพ (Physical Design) ขั้นตอนนี้เป็นการทำให้แน่ใจว่าการออกแบบสอดคล้องกับข้อจำกัดด้านพื้นที่ และแก้ไขปัญหาสัญญาณและเวลา

การออกแบบทางกายภาพประกอบด้วยหลายขั้นตอนย่อย:

  • การวางแผนชั้น (Floor planning): เป็นการกำหนดตำแหน่งและวิธีการวางบล็อกต่าง ๆ (เช่น หน่วยความจำ, ประตูตรรกะ ฯลฯ) บนพื้นผิวของชิป ขั้นตอนนี้มีความสำคัญมากเพราะสามารถส่งผลกระทบต่อประสิทธิภาพของทุกขั้นตอนถัดไป และยังส่งผลต่อคุณภาพสุดท้ายของไมโครชิปด้วย
  • การวางเซลล์ (Placement): ขั้นตอนนี้จะกำหนดตำแหน่งทางกายภาพสำหรับประตูตรรกะและเซลล์มาตรฐานแต่ละตัว โดยมุ่งเน้นไปที่เวลาในการส่งข้อมูลและความหนาแน่นของเซลล์เป็นหลัก
  • CTS (การสังเคราะห์ต้นไม้นาฬิกา): เป็นการออกแบบเครือข่ายการกระจายนาฬิกาเพื่อให้แน่ใจว่าองค์ประกอบทั้งหมดที่ใช้สัญญาณนาฬิกาเดียวกันได้รับสัญญาณพร้อมกัน
  • การกำหนดเส้นทาง (Routing): การเชื่อมต่อเซลล์ด้วยสายสัญญาณและสัญญาณเวลาโดยใช้สายโลหะ ขั้นตอนนี้ช่วยให้แน่ใจว่าการออกแบบตรงตามข้อกำหนดด้านความสมบูรณ์ของสัญญาณและเวลา

การวิเคราะห์เวลาแบบคงที่ (Static-timing analysis, STA):

การวิเคราะห์เวลาแบบคงที่ (STA) เป็นวิธีที่ใช้ในการตรวจสอบประสิทธิภาพด้านเวลาของวงจรไฟฟ้า โดยไม่จำเป็นต้องจำลองการเคลื่อนไหวของสัญญาณจริง STA มีความสำคัญอย่างมากในกระบวนการออกแบบ VLSI เนื่องจากช่วยให้มั่นใจได้ว่าวงจรจะสามารถตอบสนองข้อกำหนดด้านเวลาได้อย่างถูกต้อง เพื่อให้วงจรทำงานตามข้อกำหนดที่ตั้งไว้และสอดคล้องกับความเร็วสัญญาณนาฬิกาที่ต้องการ

สำหรับการวิเคราะห์เส้นทางการเดินของสัญญาณทั้งหมด สามารถใช้เครื่องมือต่าง ๆ เช่น Synopsys PrimeTime หรือ Cadence Tempus ข้อมูลที่ได้รับจากการวิเคราะห์นี้จะถูกนำมาใช้เพื่อปรับปรุงและแก้ไขการออกแบบให้เหมาะสม โดยเฉพาะในส่วนที่เกี่ยวข้องกับ Slack, Setup Time และ Hold Time

การตรวจสอบและยืนยันหลังการออกแบบทางกายภาพ (DRC, LVS, Antenna Check, IR Drop, SI Check):

ในระหว่างการออกแบบทางกายภาพ (Physical Design) สำหรับวงจรไมโครชิป จำเป็นที่จะต้องดำเนินการตรวจสอบความถูกต้องและประสิทธิภาพของวงจรอย่างสม่ำเสมอ เมื่อพบข้อผิดพลาดก็จะสามารถแก้ไขได้ เพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์สุดท้ายที่สมบูรณ์พร้อมประสิทธิภาพตามที่ต้องการ มีข้อกำหนดและกฎหลายอย่างที่ต้องปฏิบัติตามระหว่างกระบวนการออกแบบทางกายภาพสำหรับ ไมโครชิป VLSI:

การตรวจสอบกฎการออกแบบ (Design Rule Check, DRC):

กระบวนการตรวจสอบนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้มั่นใจว่าการออกแบบทางกายภาพของไมโครชิปสอดคล้องกับกฎระเบียบที่กำหนดโดยโรงงานผู้ผลิตชิ้นส่วนเซมิคอนดักเตอร์ กฎพื้นฐานที่ควรพิจารณาอาจรวมถึงระยะห่างขั้นต่ำระหว่างชั้นโลหะ ความกว้างของเส้นสัญญาณ และขนาดของ via เป็นต้น การตรวจสอบเหล่านี้มีความสำคัญเพื่อป้องกันปัญหาที่อาจเกิดขึ้นในระหว่างกระบวนการผลิตและการประมวลผล รวมถึงการลดความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นหลังจากผลิตภัณฑ์เสร็จสมบูรณ์

การเปรียบเทียบระหว่างเลย์เอาท์กับโครงร่าง (Layout vs Schematic, LVS):

นี่เป็นขั้นตอนสำคัญในการออกแบบ VLSI ที่ช่วยให้มั่นใจว่าการออกแบบทางกายภาพสอดคล้องกับแผนผังวงจร (schematic) หรือ netlist ต้นฉบับ ในขั้นตอนนี้จะตรวจสอบข้อผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้น เช่น การเชื่อมต่อที่ไม่ตรงกัน (Connectivity mismatch) การขาดหรือล้นของอุปกรณ์ (Missing/extra devices) และพารามิเตอร์ที่ไม่ตรงกัน (Parameter mismatches) การเปรียบเทียบนี้มีความสำคัญเพื่อให้แน่ใจว่าวงจรทำงานตามที่ออกแบบไว้และเพื่อป้องกันปัญหาที่อาจเกิดขึ้นในระหว่างการผลิต

การตรวจสอบวัดเสาอากาศ (Antenna Check):

นี่เป็นกระบวนการที่ใช้ในการตรวจสอบการออกแบบทางกายภาพเพื่อป้องกันการสะสมของประจุไฟฟ้าที่มากเกินไปบนการเชื่อมต่อโลหะที่ยาวเกินไป ปรากฏการณ์นี้เรียกว่า "เสาอากาศ" ซึ่งอาจทำให้เกิดความเสียหายต่อทรานซิสเตอร์ในวงจรไมโครชิปได้

IR Drop:
เป็นปรากฏการณ์ที่เกิดการลดลงของแรงดันไฟฟ้าในเครือข่ายจ่ายไฟฟ้าเนื่องจากความต้านทานของสายตัวนำและกระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่าน ซึ่งอาจทำให้ส่วนต่างๆ ของชิปได้รับพลังงานไม่เพียงพอ ส่งผลให้ประสิทธิภาพลดลง การเปลี่ยนแปลงเวลาไม่ถูกต้อง และการทำงานผิดพลาดได้ เพื่อวิเคราะห์ IR Drop เราสามารถใช้เครื่องมืออย่าง Redhawk หรือ Voltus

การตรวจสอบความสมบูรณ์ของสัญญาณ (Signal Integrity Check, SI Check):

ขั้นตอนนี้มีความสำคัญในการตรวจสอบว่าคุณภาพของสัญญาณไฟฟ้าในเชื่อมต่อของชิปมีความคงรูปทรงและเวลาไว้อย่างถูกต้องตามที่กำหนด โดยไม่ถูกรบกวนจากสัญญาณอื่นๆ ปรากฏการณ์การรบกวนนี้เกิดจากสัญญาณในสายที่อยู่ใกล้กันซึ่งอาจทำให้เกิดการรบกวนระหว่างกัน เพื่อวิเคราะห์การโต้ตอบระหว่างสัญญาณและเพื่อให้มั่นใจว่ามีการรบกวนระหว่างสายให้น้อยที่สุด ในขั้นตอนนี้ เครื่องมือที่ใช้ในการวิเคราะห์คือ PrimeTime SI (จาก Synopsis) หรือ Tempus SI (จาก Cadence)

Sign off และ Tape-out:

  • Sign-off: หมายถึงกระบวนการตรวจสอบและยืนยันก่อนการ Tape-out เพื่อให้มั่นใจว่าการออกแบบตอบสนองต่อข้อจำกัดด้านประสิทธิภาพ พลังงาน พื้นที่ และการผลิตทั้งหมด
  • Tape-out: เป็นขั้นตอนสุดท้ายในกระบวนการออกแบบ VLSI การออกแบบเสร็จสิ้นและส่งไปยังโรงงานผลิตเซมิคอนดักเตอร์ (Foundry) ขั้นตอนนี้เป็นการเสร็จสมบูรณ์ของทุกขั้นตอนการออกแบบ รวมถึงการตรวจสอบ (Verification) และการออกแบบทางกายภาพ (Physical design) จากนั้นจึงสร้างข้อมูลเลย์เอาท์สุดท้ายเพื่อเริ่มการผลิตไมโครชิป

Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipiscing elit. Suspendisse varius enim in eros elementum tristique. Duis cursus, mi quis viverra ornare, eros dolor interdum nulla, ut commodo diam libero vitae erat. Aenean faucibus nibh et justo cursus id rutrum lorem imperdiet. Nunc ut sem vitae risus tristique posuere.

ภาพรวมของกระบวนการออกแบบชิปเซมิคอนดักเตอร์ VLSI: จากแนวคิดสู่ความสำเร็จ
บทความ
Jan 19, 2024

ภาพรวมของกระบวนการออกแบบชิปเซมิคอนดักเตอร์ VLSI: จากแนวคิดสู่ความสำเร็จ

(ศึกษาเกี่ยวกับกระบวนการออกแบบและการผลิตชิปเซมิคอนดักเตอร์)

Lorem ipsum dolor amet consectetur adipiscing elit tortor massa arcu non.

คำจำกัดความกระบวนการเซมิคอนดักเตอร์ VLSI:

VLSI (Very Large Scale Integration) เป็นกระบวนการที่รวมทรานซิสเตอร์นับล้านถึงพันล้านตัวไว้ในชิปตัวเดียว เพื่อสร้างระบบวงจรไฟฟ้าที่ซับซ้อน อุตสาหกรรมการผลิตชิปเซมิคอนดักเตอร์มีบทบาทสำคัญอย่างยิ่งในเทคโนโลยีสมัยใหม่ โดยการใช้เพื่อผลิตอุปกรณ์ต่างๆ เช่น สมาร์ทโฟนและคอมพิวเตอร์ วิศวกรที่ทำงานในอุตสาหกรรมเซมิคอนดักเตอร์จำเป็นต้องเข้าใจและจับใจความสำคัญทุกขั้นตอน ในกระบวนการผลิตเซมิคอนดักเตอร์ได้ เริ่มตั้งแต่แนวคิดเริ่มต้นตลอดจนการสร้างและผลิต (Tape out)

การวิเคราะห์และออกแบบโครงสร้างวงจร (การกำหนดสเปกของระบบและการออกแบบสถาปัตยกรรม):

ขั้นตอนแรกในกระบวนการออกแบบ VLSI คือ กำหนดข้อกำหนดของผลิตภัณฑ์และระบบ ข้อกำหนดเหล่านี้จะกำหนดฟังก์ชันและประสิทธิภาพของชิป ซึ่งได้รับอิทธิพลจากความต้องการของผลิตภัณฑ์ตั้งแต่ต้นทางถึงปลายทาง ในขั้นตอนนี้ ความต้องการถูกแบ่งเป็น 2 ส่วนหลัก:

  • การออกแบบระดับระบบ: ในขั้นตอนนี้ ข้อกำหนดทางเทคนิคระดับสูงของระบบจะถูกกำหนด ซึ่งรวมถึง: ความต้องการด้านฟังก์ชัน ประสิทธิภาพ ขนาดชิป กำลังไฟ และงบประมาณ
  • การออกแบบสถาปัตยกรรมไมโครชิป: หลังจากกำหนดข้อกำหนดทางเทคนิคแล้ว จะออกแบบเส้นทางข้อมูล การจัดสรรหน่วยความจำ การจัดสรรพลังงาน และวิธีการสื่อสาร

การออกแบบ RTL (Register Transfer Level):

ในการดำเนินการออกแบบ RTL เราใช้ภาษาโปรแกรม HDLs (Hardware Description Languages) เช่น Verilog และ VHDL กำหนดวิธีการส่งข้อมูลผ่านรีจิสเตอร์ (Register) และวิธีการดำเนินการต่าง ๆ 

ในขั้นตอนนี้การออกแบบฟังก์ชันการทำงานของไมโครชิปเป็นสิ่งที่ถูกเน้นยํ้า และให้ความสำคัญ เพื่อให้มั่นใจว่า ข้อมูลจะถูกส่งระหว่างส่วนประกอบต่างๆ อย่างถูกต้อง

การตรวจสอบและทดสอบ (Verification):

ในระหว่างกระบวนการออกแบบไมโครชิป การตรวจสอบและทดสอบถือเป็นสิ่งสำคัญเพื่อให้แน่ใจว่าการออกแบบถูกต้อง การตรวจสอบและทดสอบใช้เวลาส่วนใหญ่ในกระบวนการออกแบบ VLSI โดยอาจใช้เวลาราวๆ 70% ของกระบวนการ ส่วนการออกแบบ RTL เราใช้เครื่องมือต่างๆ เช่น ModelSim, Cadence Xcelium, Icarus Verilog และ Synopsys VCS จำลองและดีบั๊ก RTL

การสังเคราะห์การออกแบบลอจิก (Synthesis):

เมื่อการออกแบบ RTL ได้รับการตรวจสอบและทดสอบแล้ว เราจะเปลี่ยน RTL ระดับสูงเป็นรายชื่อโครงข่ายเกต (Gate-level netlist) รายชื่อนี้จะอธิบายรายละเอียดการแสดงผลของเกตลอจิก และการเชื่อมต่อของมัน ในการสังเคราะห์การออกแบบลอจิก (Logic Synthesis): เราใช้เครื่องมือซอฟต์แวร์ เช่น Synopsis Compiler หรือ Cadence Genus แปลงรหัส RTL ให้เป็นเกตลอจิกและฟลิปฟลอป รวมถึงสนับสนุนการเพิ่มประสิทธิภาพด้านพื้นที่ พลังงาน และเวลา

รายชื่อโครงข่ายเกต (Gate-level netlist): การออกแบบลอจิกหลังการสังเคราะห์จะถูกแสดงในรูปแบบเกตลอจิก (เช่น AND, OR, NOT)

DFT (Design for Test):

นักออกแบบผนวก DFT เข้ากับกระบวนการออกแบบ เพื่อให้วิศวกรการผลิตสามารถทดสอบชิปได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยไม่ต้องกังวลเกี่ยวกับฟังก์ชันการทำงานของวงจรที่อาจเกิดข้อผิดพลาดบางประการเช่น ลัดวงจร เปิดวงจร การต่อกราวด์ (GND) หรือการต่อแหล่งพลังงาน VCC ขั้นตอนนี้ทำให้การทดสอบข้อบกพร่องครอบคลุมขึ้น และทำให้ตรวจสอบชิปได้อย่างคุ้มค่า

  • Scan chains: เป็นเทคนิคหนึ่งใน DFT ที่ใช้ในการทดสอบสัญญาณเกตที่เชื่อมต่อกันเป็นลูกโซ่
  • Built-in Self-Test (BIST): เป็นเทคนิคทดสอบวงจรใน DFT ที่ใช้ในการตรวจสอบฟังก์ชัน และคำสั่งของตนเองโดยอัตโนมัติ

การออกแบบทางกายภาพของชิป (Physical Design):

หลังการอธิบายลอจิก วิธีการที่เกตเชื่อมต่อและทำงานร่วมกันแล้ว ในขั้นตอนนี้ เราจะเปลี่ยนให้เป็นรูปแบบทางกายภาพผ่านกระบวนการออกแบบทางกายภาพ (Physical Design) ขั้นตอนนี้เป็นการทำให้แน่ใจว่าการออกแบบสอดคล้องกับข้อจำกัดด้านพื้นที่ และแก้ไขปัญหาสัญญาณและเวลา

การออกแบบทางกายภาพประกอบด้วยหลายขั้นตอนย่อย:

  • การวางแผนชั้น (Floor planning): เป็นการกำหนดตำแหน่งและวิธีการวางบล็อกต่าง ๆ (เช่น หน่วยความจำ, ประตูตรรกะ ฯลฯ) บนพื้นผิวของชิป ขั้นตอนนี้มีความสำคัญมากเพราะสามารถส่งผลกระทบต่อประสิทธิภาพของทุกขั้นตอนถัดไป และยังส่งผลต่อคุณภาพสุดท้ายของไมโครชิปด้วย
  • การวางเซลล์ (Placement): ขั้นตอนนี้จะกำหนดตำแหน่งทางกายภาพสำหรับประตูตรรกะและเซลล์มาตรฐานแต่ละตัว โดยมุ่งเน้นไปที่เวลาในการส่งข้อมูลและความหนาแน่นของเซลล์เป็นหลัก
  • CTS (การสังเคราะห์ต้นไม้นาฬิกา): เป็นการออกแบบเครือข่ายการกระจายนาฬิกาเพื่อให้แน่ใจว่าองค์ประกอบทั้งหมดที่ใช้สัญญาณนาฬิกาเดียวกันได้รับสัญญาณพร้อมกัน
  • การกำหนดเส้นทาง (Routing): การเชื่อมต่อเซลล์ด้วยสายสัญญาณและสัญญาณเวลาโดยใช้สายโลหะ ขั้นตอนนี้ช่วยให้แน่ใจว่าการออกแบบตรงตามข้อกำหนดด้านความสมบูรณ์ของสัญญาณและเวลา

การวิเคราะห์เวลาแบบคงที่ (Static-timing analysis, STA):

การวิเคราะห์เวลาแบบคงที่ (STA) เป็นวิธีที่ใช้ในการตรวจสอบประสิทธิภาพด้านเวลาของวงจรไฟฟ้า โดยไม่จำเป็นต้องจำลองการเคลื่อนไหวของสัญญาณจริง STA มีความสำคัญอย่างมากในกระบวนการออกแบบ VLSI เนื่องจากช่วยให้มั่นใจได้ว่าวงจรจะสามารถตอบสนองข้อกำหนดด้านเวลาได้อย่างถูกต้อง เพื่อให้วงจรทำงานตามข้อกำหนดที่ตั้งไว้และสอดคล้องกับความเร็วสัญญาณนาฬิกาที่ต้องการ

สำหรับการวิเคราะห์เส้นทางการเดินของสัญญาณทั้งหมด สามารถใช้เครื่องมือต่าง ๆ เช่น Synopsys PrimeTime หรือ Cadence Tempus ข้อมูลที่ได้รับจากการวิเคราะห์นี้จะถูกนำมาใช้เพื่อปรับปรุงและแก้ไขการออกแบบให้เหมาะสม โดยเฉพาะในส่วนที่เกี่ยวข้องกับ Slack, Setup Time และ Hold Time

การตรวจสอบและยืนยันหลังการออกแบบทางกายภาพ (DRC, LVS, Antenna Check, IR Drop, SI Check):

ในระหว่างการออกแบบทางกายภาพ (Physical Design) สำหรับวงจรไมโครชิป จำเป็นที่จะต้องดำเนินการตรวจสอบความถูกต้องและประสิทธิภาพของวงจรอย่างสม่ำเสมอ เมื่อพบข้อผิดพลาดก็จะสามารถแก้ไขได้ เพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์สุดท้ายที่สมบูรณ์พร้อมประสิทธิภาพตามที่ต้องการ มีข้อกำหนดและกฎหลายอย่างที่ต้องปฏิบัติตามระหว่างกระบวนการออกแบบทางกายภาพสำหรับ ไมโครชิป VLSI:

การตรวจสอบกฎการออกแบบ (Design Rule Check, DRC):

กระบวนการตรวจสอบนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้มั่นใจว่าการออกแบบทางกายภาพของไมโครชิปสอดคล้องกับกฎระเบียบที่กำหนดโดยโรงงานผู้ผลิตชิ้นส่วนเซมิคอนดักเตอร์ กฎพื้นฐานที่ควรพิจารณาอาจรวมถึงระยะห่างขั้นต่ำระหว่างชั้นโลหะ ความกว้างของเส้นสัญญาณ และขนาดของ via เป็นต้น การตรวจสอบเหล่านี้มีความสำคัญเพื่อป้องกันปัญหาที่อาจเกิดขึ้นในระหว่างกระบวนการผลิตและการประมวลผล รวมถึงการลดความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นหลังจากผลิตภัณฑ์เสร็จสมบูรณ์

การเปรียบเทียบระหว่างเลย์เอาท์กับโครงร่าง (Layout vs Schematic, LVS):

นี่เป็นขั้นตอนสำคัญในการออกแบบ VLSI ที่ช่วยให้มั่นใจว่าการออกแบบทางกายภาพสอดคล้องกับแผนผังวงจร (schematic) หรือ netlist ต้นฉบับ ในขั้นตอนนี้จะตรวจสอบข้อผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้น เช่น การเชื่อมต่อที่ไม่ตรงกัน (Connectivity mismatch) การขาดหรือล้นของอุปกรณ์ (Missing/extra devices) และพารามิเตอร์ที่ไม่ตรงกัน (Parameter mismatches) การเปรียบเทียบนี้มีความสำคัญเพื่อให้แน่ใจว่าวงจรทำงานตามที่ออกแบบไว้และเพื่อป้องกันปัญหาที่อาจเกิดขึ้นในระหว่างการผลิต

การตรวจสอบวัดเสาอากาศ (Antenna Check):

นี่เป็นกระบวนการที่ใช้ในการตรวจสอบการออกแบบทางกายภาพเพื่อป้องกันการสะสมของประจุไฟฟ้าที่มากเกินไปบนการเชื่อมต่อโลหะที่ยาวเกินไป ปรากฏการณ์นี้เรียกว่า "เสาอากาศ" ซึ่งอาจทำให้เกิดความเสียหายต่อทรานซิสเตอร์ในวงจรไมโครชิปได้

IR Drop:
เป็นปรากฏการณ์ที่เกิดการลดลงของแรงดันไฟฟ้าในเครือข่ายจ่ายไฟฟ้าเนื่องจากความต้านทานของสายตัวนำและกระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่าน ซึ่งอาจทำให้ส่วนต่างๆ ของชิปได้รับพลังงานไม่เพียงพอ ส่งผลให้ประสิทธิภาพลดลง การเปลี่ยนแปลงเวลาไม่ถูกต้อง และการทำงานผิดพลาดได้ เพื่อวิเคราะห์ IR Drop เราสามารถใช้เครื่องมืออย่าง Redhawk หรือ Voltus

การตรวจสอบความสมบูรณ์ของสัญญาณ (Signal Integrity Check, SI Check):

ขั้นตอนนี้มีความสำคัญในการตรวจสอบว่าคุณภาพของสัญญาณไฟฟ้าในเชื่อมต่อของชิปมีความคงรูปทรงและเวลาไว้อย่างถูกต้องตามที่กำหนด โดยไม่ถูกรบกวนจากสัญญาณอื่นๆ ปรากฏการณ์การรบกวนนี้เกิดจากสัญญาณในสายที่อยู่ใกล้กันซึ่งอาจทำให้เกิดการรบกวนระหว่างกัน เพื่อวิเคราะห์การโต้ตอบระหว่างสัญญาณและเพื่อให้มั่นใจว่ามีการรบกวนระหว่างสายให้น้อยที่สุด ในขั้นตอนนี้ เครื่องมือที่ใช้ในการวิเคราะห์คือ PrimeTime SI (จาก Synopsis) หรือ Tempus SI (จาก Cadence)

Sign off และ Tape-out:

  • Sign-off: หมายถึงกระบวนการตรวจสอบและยืนยันก่อนการ Tape-out เพื่อให้มั่นใจว่าการออกแบบตอบสนองต่อข้อจำกัดด้านประสิทธิภาพ พลังงาน พื้นที่ และการผลิตทั้งหมด
  • Tape-out: เป็นขั้นตอนสุดท้ายในกระบวนการออกแบบ VLSI การออกแบบเสร็จสิ้นและส่งไปยังโรงงานผลิตเซมิคอนดักเตอร์ (Foundry) ขั้นตอนนี้เป็นการเสร็จสมบูรณ์ของทุกขั้นตอนการออกแบบ รวมถึงการตรวจสอบ (Verification) และการออกแบบทางกายภาพ (Physical design) จากนั้นจึงสร้างข้อมูลเลย์เอาท์สุดท้ายเพื่อเริ่มการผลิตไมโครชิป

Related articles