จำนวนเชิงซ้อนและเฟสเซอร์

เข้าใจความแตกต่างระหว่างจำนวนจริงและจำนวนเชิงซ้อน

จำนวนเชิงซ้อนและเฟสเซอร์

การดำเนินการทางคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับจำนวนเชิงซ้อนทางด้านวิศวกรรมไฟฟ้า มีความจำเป็น ที่จะต้องเข้าใจแนวคิดเรื่องจำนวนจริงและจำนวนเชิงซ้อนเป็นอย่างมาก จำนวนจริงมักใช้คำนวณทางด้านไฟฟ้าต่างๆ  ไม่ว่าจะเป็นเรื่องความต้านทาน กระแสไฟฟ้า และแรงดันไฟฟ้ากระแสตรง อย่างไรก็ตาม เมื่อเป็นเรื่องแหล่งกำเนิดไซนัสซอยด์ และเวกเตอร์ที่มีรูปแบบคลื่นตามจำนวนความถี่จะใช้จำนวนเชิงซ้อน โดยจำนวนเชิงซ้อนส่วนจริง            (real part) และส่วนจินตภาพ (imaginary part) จะถูกนำเสนอในรูปแบบของการรวมองค์ประกอบทั้งสองอย่างเข้าด้วยกัน

ตัวเลขจินตภาพ แทนด้วยสัญลักษณ์  "j" ทางด้านวิศวกรรมไฟฟ้า ใช้สำหรับจัดการสมการที่เกี่ยวข้องกับรากที่สองของจำนวนลบ (√-1) โดยเรียกตัวเลขเหล่าว่า ตัวเลข "จินตภาพ" เนื่องจากตัวเลขดังกล่าวไม่ใช่จำนวนตัวเลขจริง เพื่อให้แยกแยะตัวเลขจินตภาพจากตัวเลขจริงได้  ตัวอักษร "j" จึงถูกนำมาใช้เป็นสัญลักษณ์แทนตัวกระทำ j (j-operator) เมื่อวาง "j" ไว้หน้าตัวเลขจริง จะเป็นการระบุว่า มีการดำเนินการทางจำนวนจินตภาพ

ตัวอย่างจำนวนจินตภาพได้แก่ j3, j12 และ j100 จำนวนเชิงซ้อนประกอบด้วยจำนวนสองส่วนที่แตกต่างกัน แต่มีความเกี่ยวข้องกันคือ จำนวนจริง และจำนวนจินตภาพ โดยจำนวนเชิงซ้อนจะแสดงบนระนาบเชิงซ้อนสองมิติ หรือที่เรียกกันว่า ระนาบ s  ซึ่งอ้างอิงถึงแกนที่แตกต่างกันสองแกนได้แก่ แกนจริง และแกนจินตภาพ ซึ่งส่วนจริงและส่วนจินตภาพของจำนวนเชิงซ้อนจะใช้ตัวย่อว่า Re(z) และ Im(z) ตามลำดับ

ในส่วนของจำนวนเชิงซ้อน การบวกและการลบจำนวนจินตภาพเป็นไปตามกฎ และใช้กฎเดียวกับจำนวนจริง ยกตัวอย่างเช่น j2 + j4 เท่ากับ j6  สิ่งที่ทำให้แตกต่างกันหลักๆ คือ การคูณ ที่นำจำนวนจินตภาพสองตัวมาคูณกันและมีผลลัพธ์เป็นจำนวนจริงติดลบ โดยจำนวนจริงจะถูกจัดให้อยู่ในกรณีพิเศษที่เกิดขึ้นได้ของจำนวนเชิงซ้อน ที่มีส่วนจินตภาพเป็นศูนย์ แสดงเป็นสัญลักษณ์  j0

ตัวกระทำ  j แทนรากที่สองของ -1 (√-1) และการคูณ "j" ต่อเนื่องกันจะให้ค่าเฉพาะเช่น -1, -j และ +1 ในทางวิศวกรรมไฟฟ้ามักใช้ "j" ระบุการหมุนเวกเตอร์ทวนเข็มนาฬิกา การคูณ หรือการยกกำลังแต่ละครั้งของ "j" (j2, j3 ฯลฯ) ทำให้เวกเตอร์หมุนด้วยมุมคงที่ 90 องศา ทวนเข็มนาฬิกา ในทางกลับกัน หากผลลัพธ์เป็น -j การเปลี่ยนเฟสจะกลายเป็น -90 องศา และหมุนตามเข็มนาฬิกา

หากคูณจำนวนจินตภาพด้วย j2  เวกเตอร์จะหมุนทวนเข็มนาฬิกา 180 องศา  j3 เวกเตอร์จะหมุน 270 องศา และ  j4 เวกเตอร์จะหมุนครบ 360 องศากลับสู่ตำแหน่งเดิม การคูณด้วย j10 หรือ j30 จะทำให้เวกเตอร์หมุนทวนเข็มนาฬิกาด้วยจำนวนที่สอดคล้องกัน โดยที่ระหว่างนั้น ขนาดของเวกเตอร์จะยังคงมีขนาดเท่าเดิมตลอดการหมุน

ในสาขาวิศวกรรมไฟฟ้า จำนวนเชิงซ้อนสามารถแสดงในรูปแบบกราฟฟิก หรือทางคณิตศาสตร์ได้หลากหลายวิธี โดยรูปแบบหนึ่งที่พบเห็นได้ทั่วไปคือ คาร์ทีเซียน หรือรูปแบบแกนมุมฉาก ซึ่งใช้ตามกฎโคไซน์ และกฏไซน์

ในรูปแบบแกนมุมฉาก จำนวนเชิงซ้อนสามารถแสดงเป็นสัญลักษณ์  Z = x + jy โดยที่:

  • Z หมายถึง จำนวนเชิงซ้อน (เวกเตอร์)
  • x หมายถึง ส่วนจริง หรือ active component
  • y หมายถึง ส่วนจินตภาพ หรือ reactive component
  • j กำหนดให้เป็น √-1

การแทนค่านี้ จำนวนเชิงซ้อนจะสอดคล้องกับจุดบนระนาบเชิงซ้อน (ระนาบ s)  มี  x ทำหน้าที่ระบุตำแหน่งบนแกนจริงแนวนอน  และ y ระบุตำแหน่งบนแกนจินตภาพแนวตั้ง โดยทั้ง x และ y  มีค่าเป็นบวกหรือลบก็ได้ ส่งผลให้เกิดระนาบเชิงซ้อนสี่จตุภาคที่เรียกว่า แผนภาพ Argand

แผนภาพ Argand:

  • แกนนอนแสดงจำนวนจริงมีค่าเป็นบวก ทางด้านขวา และแสดงจำนวนจริง มีค่าเป็นลบ ทางด้านซ้ายของแกนจินตภาพแนวตั้ง
  • จำนวนจินตภาพมีค่าเป็นบวกจะอยู่เหนือแกนนอน ในขณะที่จำนวนจินตภาพมีค่าเป็นลบจะอยู่ด้านล่าง
  • ระนาบเชิงซ้อนแบ่งออกเป็นสี่จตุภาคชื่อว่า QI, QII, QIII และ QIV

แผนภาพ Argand แสดงเฟสเซอร์ที่กำลังหมุนเป็นจุดในระนาบเชิงซ้อนให้เห็นได้ โดยที่รัศมีจะถูกกำหนดจากขนาดเฟสเซอร์ และเฟสเซอร์จะครบรอบเต็มวงกลมทุกๆ 2π/ω วินาที

นอกจากนี้ จำนวนเชิงซ้อนมีส่วนจริง หรือส่วนจินตภาพเป็นศูนย์ได้เช่น Z = 6 + j0 หรือ Z = 0 + j4 ในกรณีนี้ จุดจะถูกพล็อตลงบนแกนจริง หรือแกนจินตภาพ มุมของจำนวนเชิงซ้อนสามารถคำนวณได้โดยการใช้ตรีโกณมิติ ในรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก หรือการวัดทวนเข็มนาฬิการอบๆ แผนภาพ Argand โดยเริ่มจากแกนจริงที่มีค่าเป็นบวก

มุมระหว่าง 0 ถึง 90 องศาอยู่ในจตุภาคที่หนึ่ง (I) มุมระหว่าง 90 ถึง 180 องศาอยู่ในจตุภาคที่สอง (II) มุมระหว่าง 180 ถึง 270 องศาอยู่ในจตุภาคที่สาม (III) และมุมระหว่าง 270 ถึง วงกลม 360 องศาอยู่ในจตุภาคที่สี่ (IV)

หากต้องการบวกและลบจำนวนเชิงซ้อนในรูปแกนมุมฉาก กรุณาทำตามขั้นตอนต่อไปนี้

  1. เพิ่มส่วนจริงของจำนวนเชิงซ้อนเพื่อให้ได้ผลรวมของส่วนจริง
  2. เพิ่มส่วนจินตภาพของจำนวนเชิงซ้อนเพื่อให้ได้ผลรวมของส่วนจินตภาพ

กระบวนการนี้ใช้กับจำนวนเชิงซ้อน ดังที่เห็นในตัวอย่าง  A และ B

บทความที่เกี่ยวข้อง

บทความ
January 26, 2024

จำนวนเชิงซ้อนและเฟสเซอร์

เข้าใจความแตกต่างระหว่างจำนวนจริงและจำนวนเชิงซ้อน

นักเขียนบทความ
by 
นักเขียนบทความ
จำนวนเชิงซ้อนและเฟสเซอร์

จำนวนเชิงซ้อนและเฟสเซอร์

เข้าใจความแตกต่างระหว่างจำนวนจริงและจำนวนเชิงซ้อน

การดำเนินการทางคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับจำนวนเชิงซ้อนทางด้านวิศวกรรมไฟฟ้า มีความจำเป็น ที่จะต้องเข้าใจแนวคิดเรื่องจำนวนจริงและจำนวนเชิงซ้อนเป็นอย่างมาก จำนวนจริงมักใช้คำนวณทางด้านไฟฟ้าต่างๆ  ไม่ว่าจะเป็นเรื่องความต้านทาน กระแสไฟฟ้า และแรงดันไฟฟ้ากระแสตรง อย่างไรก็ตาม เมื่อเป็นเรื่องแหล่งกำเนิดไซนัสซอยด์ และเวกเตอร์ที่มีรูปแบบคลื่นตามจำนวนความถี่จะใช้จำนวนเชิงซ้อน โดยจำนวนเชิงซ้อนส่วนจริง            (real part) และส่วนจินตภาพ (imaginary part) จะถูกนำเสนอในรูปแบบของการรวมองค์ประกอบทั้งสองอย่างเข้าด้วยกัน

ตัวเลขจินตภาพ แทนด้วยสัญลักษณ์  "j" ทางด้านวิศวกรรมไฟฟ้า ใช้สำหรับจัดการสมการที่เกี่ยวข้องกับรากที่สองของจำนวนลบ (√-1) โดยเรียกตัวเลขเหล่าว่า ตัวเลข "จินตภาพ" เนื่องจากตัวเลขดังกล่าวไม่ใช่จำนวนตัวเลขจริง เพื่อให้แยกแยะตัวเลขจินตภาพจากตัวเลขจริงได้  ตัวอักษร "j" จึงถูกนำมาใช้เป็นสัญลักษณ์แทนตัวกระทำ j (j-operator) เมื่อวาง "j" ไว้หน้าตัวเลขจริง จะเป็นการระบุว่า มีการดำเนินการทางจำนวนจินตภาพ

ตัวอย่างจำนวนจินตภาพได้แก่ j3, j12 และ j100 จำนวนเชิงซ้อนประกอบด้วยจำนวนสองส่วนที่แตกต่างกัน แต่มีความเกี่ยวข้องกันคือ จำนวนจริง และจำนวนจินตภาพ โดยจำนวนเชิงซ้อนจะแสดงบนระนาบเชิงซ้อนสองมิติ หรือที่เรียกกันว่า ระนาบ s  ซึ่งอ้างอิงถึงแกนที่แตกต่างกันสองแกนได้แก่ แกนจริง และแกนจินตภาพ ซึ่งส่วนจริงและส่วนจินตภาพของจำนวนเชิงซ้อนจะใช้ตัวย่อว่า Re(z) และ Im(z) ตามลำดับ

ในส่วนของจำนวนเชิงซ้อน การบวกและการลบจำนวนจินตภาพเป็นไปตามกฎ และใช้กฎเดียวกับจำนวนจริง ยกตัวอย่างเช่น j2 + j4 เท่ากับ j6  สิ่งที่ทำให้แตกต่างกันหลักๆ คือ การคูณ ที่นำจำนวนจินตภาพสองตัวมาคูณกันและมีผลลัพธ์เป็นจำนวนจริงติดลบ โดยจำนวนจริงจะถูกจัดให้อยู่ในกรณีพิเศษที่เกิดขึ้นได้ของจำนวนเชิงซ้อน ที่มีส่วนจินตภาพเป็นศูนย์ แสดงเป็นสัญลักษณ์  j0

ตัวกระทำ  j แทนรากที่สองของ -1 (√-1) และการคูณ "j" ต่อเนื่องกันจะให้ค่าเฉพาะเช่น -1, -j และ +1 ในทางวิศวกรรมไฟฟ้ามักใช้ "j" ระบุการหมุนเวกเตอร์ทวนเข็มนาฬิกา การคูณ หรือการยกกำลังแต่ละครั้งของ "j" (j2, j3 ฯลฯ) ทำให้เวกเตอร์หมุนด้วยมุมคงที่ 90 องศา ทวนเข็มนาฬิกา ในทางกลับกัน หากผลลัพธ์เป็น -j การเปลี่ยนเฟสจะกลายเป็น -90 องศา และหมุนตามเข็มนาฬิกา

หากคูณจำนวนจินตภาพด้วย j2  เวกเตอร์จะหมุนทวนเข็มนาฬิกา 180 องศา  j3 เวกเตอร์จะหมุน 270 องศา และ  j4 เวกเตอร์จะหมุนครบ 360 องศากลับสู่ตำแหน่งเดิม การคูณด้วย j10 หรือ j30 จะทำให้เวกเตอร์หมุนทวนเข็มนาฬิกาด้วยจำนวนที่สอดคล้องกัน โดยที่ระหว่างนั้น ขนาดของเวกเตอร์จะยังคงมีขนาดเท่าเดิมตลอดการหมุน

ในสาขาวิศวกรรมไฟฟ้า จำนวนเชิงซ้อนสามารถแสดงในรูปแบบกราฟฟิก หรือทางคณิตศาสตร์ได้หลากหลายวิธี โดยรูปแบบหนึ่งที่พบเห็นได้ทั่วไปคือ คาร์ทีเซียน หรือรูปแบบแกนมุมฉาก ซึ่งใช้ตามกฎโคไซน์ และกฏไซน์

ในรูปแบบแกนมุมฉาก จำนวนเชิงซ้อนสามารถแสดงเป็นสัญลักษณ์  Z = x + jy โดยที่:

  • Z หมายถึง จำนวนเชิงซ้อน (เวกเตอร์)
  • x หมายถึง ส่วนจริง หรือ active component
  • y หมายถึง ส่วนจินตภาพ หรือ reactive component
  • j กำหนดให้เป็น √-1

การแทนค่านี้ จำนวนเชิงซ้อนจะสอดคล้องกับจุดบนระนาบเชิงซ้อน (ระนาบ s)  มี  x ทำหน้าที่ระบุตำแหน่งบนแกนจริงแนวนอน  และ y ระบุตำแหน่งบนแกนจินตภาพแนวตั้ง โดยทั้ง x และ y  มีค่าเป็นบวกหรือลบก็ได้ ส่งผลให้เกิดระนาบเชิงซ้อนสี่จตุภาคที่เรียกว่า แผนภาพ Argand

แผนภาพ Argand:

  • แกนนอนแสดงจำนวนจริงมีค่าเป็นบวก ทางด้านขวา และแสดงจำนวนจริง มีค่าเป็นลบ ทางด้านซ้ายของแกนจินตภาพแนวตั้ง
  • จำนวนจินตภาพมีค่าเป็นบวกจะอยู่เหนือแกนนอน ในขณะที่จำนวนจินตภาพมีค่าเป็นลบจะอยู่ด้านล่าง
  • ระนาบเชิงซ้อนแบ่งออกเป็นสี่จตุภาคชื่อว่า QI, QII, QIII และ QIV

แผนภาพ Argand แสดงเฟสเซอร์ที่กำลังหมุนเป็นจุดในระนาบเชิงซ้อนให้เห็นได้ โดยที่รัศมีจะถูกกำหนดจากขนาดเฟสเซอร์ และเฟสเซอร์จะครบรอบเต็มวงกลมทุกๆ 2π/ω วินาที

นอกจากนี้ จำนวนเชิงซ้อนมีส่วนจริง หรือส่วนจินตภาพเป็นศูนย์ได้เช่น Z = 6 + j0 หรือ Z = 0 + j4 ในกรณีนี้ จุดจะถูกพล็อตลงบนแกนจริง หรือแกนจินตภาพ มุมของจำนวนเชิงซ้อนสามารถคำนวณได้โดยการใช้ตรีโกณมิติ ในรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก หรือการวัดทวนเข็มนาฬิการอบๆ แผนภาพ Argand โดยเริ่มจากแกนจริงที่มีค่าเป็นบวก

มุมระหว่าง 0 ถึง 90 องศาอยู่ในจตุภาคที่หนึ่ง (I) มุมระหว่าง 90 ถึง 180 องศาอยู่ในจตุภาคที่สอง (II) มุมระหว่าง 180 ถึง 270 องศาอยู่ในจตุภาคที่สาม (III) และมุมระหว่าง 270 ถึง วงกลม 360 องศาอยู่ในจตุภาคที่สี่ (IV)

หากต้องการบวกและลบจำนวนเชิงซ้อนในรูปแกนมุมฉาก กรุณาทำตามขั้นตอนต่อไปนี้

  1. เพิ่มส่วนจริงของจำนวนเชิงซ้อนเพื่อให้ได้ผลรวมของส่วนจริง
  2. เพิ่มส่วนจินตภาพของจำนวนเชิงซ้อนเพื่อให้ได้ผลรวมของส่วนจินตภาพ

กระบวนการนี้ใช้กับจำนวนเชิงซ้อน ดังที่เห็นในตัวอย่าง  A และ B

Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipiscing elit. Suspendisse varius enim in eros elementum tristique. Duis cursus, mi quis viverra ornare, eros dolor interdum nulla, ut commodo diam libero vitae erat. Aenean faucibus nibh et justo cursus id rutrum lorem imperdiet. Nunc ut sem vitae risus tristique posuere.

จำนวนเชิงซ้อนและเฟสเซอร์
บทความ
Jan 19, 2024

จำนวนเชิงซ้อนและเฟสเซอร์

เข้าใจความแตกต่างระหว่างจำนวนจริงและจำนวนเชิงซ้อน

Lorem ipsum dolor amet consectetur adipiscing elit tortor massa arcu non.

การดำเนินการทางคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับจำนวนเชิงซ้อนทางด้านวิศวกรรมไฟฟ้า มีความจำเป็น ที่จะต้องเข้าใจแนวคิดเรื่องจำนวนจริงและจำนวนเชิงซ้อนเป็นอย่างมาก จำนวนจริงมักใช้คำนวณทางด้านไฟฟ้าต่างๆ  ไม่ว่าจะเป็นเรื่องความต้านทาน กระแสไฟฟ้า และแรงดันไฟฟ้ากระแสตรง อย่างไรก็ตาม เมื่อเป็นเรื่องแหล่งกำเนิดไซนัสซอยด์ และเวกเตอร์ที่มีรูปแบบคลื่นตามจำนวนความถี่จะใช้จำนวนเชิงซ้อน โดยจำนวนเชิงซ้อนส่วนจริง            (real part) และส่วนจินตภาพ (imaginary part) จะถูกนำเสนอในรูปแบบของการรวมองค์ประกอบทั้งสองอย่างเข้าด้วยกัน

ตัวเลขจินตภาพ แทนด้วยสัญลักษณ์  "j" ทางด้านวิศวกรรมไฟฟ้า ใช้สำหรับจัดการสมการที่เกี่ยวข้องกับรากที่สองของจำนวนลบ (√-1) โดยเรียกตัวเลขเหล่าว่า ตัวเลข "จินตภาพ" เนื่องจากตัวเลขดังกล่าวไม่ใช่จำนวนตัวเลขจริง เพื่อให้แยกแยะตัวเลขจินตภาพจากตัวเลขจริงได้  ตัวอักษร "j" จึงถูกนำมาใช้เป็นสัญลักษณ์แทนตัวกระทำ j (j-operator) เมื่อวาง "j" ไว้หน้าตัวเลขจริง จะเป็นการระบุว่า มีการดำเนินการทางจำนวนจินตภาพ

ตัวอย่างจำนวนจินตภาพได้แก่ j3, j12 และ j100 จำนวนเชิงซ้อนประกอบด้วยจำนวนสองส่วนที่แตกต่างกัน แต่มีความเกี่ยวข้องกันคือ จำนวนจริง และจำนวนจินตภาพ โดยจำนวนเชิงซ้อนจะแสดงบนระนาบเชิงซ้อนสองมิติ หรือที่เรียกกันว่า ระนาบ s  ซึ่งอ้างอิงถึงแกนที่แตกต่างกันสองแกนได้แก่ แกนจริง และแกนจินตภาพ ซึ่งส่วนจริงและส่วนจินตภาพของจำนวนเชิงซ้อนจะใช้ตัวย่อว่า Re(z) และ Im(z) ตามลำดับ

ในส่วนของจำนวนเชิงซ้อน การบวกและการลบจำนวนจินตภาพเป็นไปตามกฎ และใช้กฎเดียวกับจำนวนจริง ยกตัวอย่างเช่น j2 + j4 เท่ากับ j6  สิ่งที่ทำให้แตกต่างกันหลักๆ คือ การคูณ ที่นำจำนวนจินตภาพสองตัวมาคูณกันและมีผลลัพธ์เป็นจำนวนจริงติดลบ โดยจำนวนจริงจะถูกจัดให้อยู่ในกรณีพิเศษที่เกิดขึ้นได้ของจำนวนเชิงซ้อน ที่มีส่วนจินตภาพเป็นศูนย์ แสดงเป็นสัญลักษณ์  j0

ตัวกระทำ  j แทนรากที่สองของ -1 (√-1) และการคูณ "j" ต่อเนื่องกันจะให้ค่าเฉพาะเช่น -1, -j และ +1 ในทางวิศวกรรมไฟฟ้ามักใช้ "j" ระบุการหมุนเวกเตอร์ทวนเข็มนาฬิกา การคูณ หรือการยกกำลังแต่ละครั้งของ "j" (j2, j3 ฯลฯ) ทำให้เวกเตอร์หมุนด้วยมุมคงที่ 90 องศา ทวนเข็มนาฬิกา ในทางกลับกัน หากผลลัพธ์เป็น -j การเปลี่ยนเฟสจะกลายเป็น -90 องศา และหมุนตามเข็มนาฬิกา

หากคูณจำนวนจินตภาพด้วย j2  เวกเตอร์จะหมุนทวนเข็มนาฬิกา 180 องศา  j3 เวกเตอร์จะหมุน 270 องศา และ  j4 เวกเตอร์จะหมุนครบ 360 องศากลับสู่ตำแหน่งเดิม การคูณด้วย j10 หรือ j30 จะทำให้เวกเตอร์หมุนทวนเข็มนาฬิกาด้วยจำนวนที่สอดคล้องกัน โดยที่ระหว่างนั้น ขนาดของเวกเตอร์จะยังคงมีขนาดเท่าเดิมตลอดการหมุน

ในสาขาวิศวกรรมไฟฟ้า จำนวนเชิงซ้อนสามารถแสดงในรูปแบบกราฟฟิก หรือทางคณิตศาสตร์ได้หลากหลายวิธี โดยรูปแบบหนึ่งที่พบเห็นได้ทั่วไปคือ คาร์ทีเซียน หรือรูปแบบแกนมุมฉาก ซึ่งใช้ตามกฎโคไซน์ และกฏไซน์

ในรูปแบบแกนมุมฉาก จำนวนเชิงซ้อนสามารถแสดงเป็นสัญลักษณ์  Z = x + jy โดยที่:

  • Z หมายถึง จำนวนเชิงซ้อน (เวกเตอร์)
  • x หมายถึง ส่วนจริง หรือ active component
  • y หมายถึง ส่วนจินตภาพ หรือ reactive component
  • j กำหนดให้เป็น √-1

การแทนค่านี้ จำนวนเชิงซ้อนจะสอดคล้องกับจุดบนระนาบเชิงซ้อน (ระนาบ s)  มี  x ทำหน้าที่ระบุตำแหน่งบนแกนจริงแนวนอน  และ y ระบุตำแหน่งบนแกนจินตภาพแนวตั้ง โดยทั้ง x และ y  มีค่าเป็นบวกหรือลบก็ได้ ส่งผลให้เกิดระนาบเชิงซ้อนสี่จตุภาคที่เรียกว่า แผนภาพ Argand

แผนภาพ Argand:

  • แกนนอนแสดงจำนวนจริงมีค่าเป็นบวก ทางด้านขวา และแสดงจำนวนจริง มีค่าเป็นลบ ทางด้านซ้ายของแกนจินตภาพแนวตั้ง
  • จำนวนจินตภาพมีค่าเป็นบวกจะอยู่เหนือแกนนอน ในขณะที่จำนวนจินตภาพมีค่าเป็นลบจะอยู่ด้านล่าง
  • ระนาบเชิงซ้อนแบ่งออกเป็นสี่จตุภาคชื่อว่า QI, QII, QIII และ QIV

แผนภาพ Argand แสดงเฟสเซอร์ที่กำลังหมุนเป็นจุดในระนาบเชิงซ้อนให้เห็นได้ โดยที่รัศมีจะถูกกำหนดจากขนาดเฟสเซอร์ และเฟสเซอร์จะครบรอบเต็มวงกลมทุกๆ 2π/ω วินาที

นอกจากนี้ จำนวนเชิงซ้อนมีส่วนจริง หรือส่วนจินตภาพเป็นศูนย์ได้เช่น Z = 6 + j0 หรือ Z = 0 + j4 ในกรณีนี้ จุดจะถูกพล็อตลงบนแกนจริง หรือแกนจินตภาพ มุมของจำนวนเชิงซ้อนสามารถคำนวณได้โดยการใช้ตรีโกณมิติ ในรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก หรือการวัดทวนเข็มนาฬิการอบๆ แผนภาพ Argand โดยเริ่มจากแกนจริงที่มีค่าเป็นบวก

มุมระหว่าง 0 ถึง 90 องศาอยู่ในจตุภาคที่หนึ่ง (I) มุมระหว่าง 90 ถึง 180 องศาอยู่ในจตุภาคที่สอง (II) มุมระหว่าง 180 ถึง 270 องศาอยู่ในจตุภาคที่สาม (III) และมุมระหว่าง 270 ถึง วงกลม 360 องศาอยู่ในจตุภาคที่สี่ (IV)

หากต้องการบวกและลบจำนวนเชิงซ้อนในรูปแกนมุมฉาก กรุณาทำตามขั้นตอนต่อไปนี้

  1. เพิ่มส่วนจริงของจำนวนเชิงซ้อนเพื่อให้ได้ผลรวมของส่วนจริง
  2. เพิ่มส่วนจินตภาพของจำนวนเชิงซ้อนเพื่อให้ได้ผลรวมของส่วนจินตภาพ

กระบวนการนี้ใช้กับจำนวนเชิงซ้อน ดังที่เห็นในตัวอย่าง  A และ B

Related articles